4โครงการริเริ่มจากประเทศไทยได้รับการยอมรับว่าเป็นผู้ผ่านเข้ารอบสุดท้ายใน IDC's Fifth annual smart city Asia pacific awards 2019

ศุกร์ ๒๔ พฤษภาคม ๒๐๑๙ ๑๐:๑๒
ข้อมูลจาก IDC Government Insights ภาคพื้นเอเชีย/แปซิฟิกได้ประกาศว่าประกาศว่า โครงการริเริ่ม 4จังหวัด/เมือง smart cities จากประเทศไทย

ได้รับเลือกให้เป็นผู้เข้ารอบสุดท้ายในงาน IDC's fifth annual Smart City Asia Pacific Awards (SCAPA) ปี2019

โดยโครงการเหล่านี้จะถูกนำไปแข็งขันกับอีก 53โครงการทั่วเอเชียแปซิฟิก และจะได้รับการเสนอชื่อเป็นสุดยอด 12 smart cities functional categories

-อุดรธานี,smart city(เมืองอัจฉริยะ)--- โครงการนี้ได้รับเลือกให้เป็นหนึ่งผู้เข้ารอบสุดท้ายภายใต้หมวดหมู่ของ "Economy Development, Tourism, Arts, Libraries, Culture, Open Spaces" จังหวัดอุดรธานีอุดรธานีมีชื่อเสียงในเรื่องแหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์และทางธรรมชาติ เช่นแหล่งโบราณคดีบ้านเชียงโดยมีภาคเอกชนในจังหวัดอุดรธานีได้พัฒนาแอพพลิเคชั่น 'Beyond Udon City'เพื่อเป็นแหล่งเผยแพร่ข้อมูลที่สำคัญเกี่ยวกับอุดรธานีแก่นักท่องเที่ยวมาตั้งแต่ เดือน ธันวาคม ปี2017

แอพพลิเคชั่นนี้ช่วยให้การเข้าถึงช่องทางการสื่อสารสาธารณะเป็นไปอย่างง่ายดาย ช่วยแบ่งปันข้อมูลหรือเนื้อหาที่สร้างสรรค์ในรูปแบบที่ทันสมัย ปัจจุบันรัฐบาลท้องถิ่นกำลังเตรียมแผนสร้างศูนย์ปฏิบัติการอัจฉริยะ ที่ใช้เทคโนโลยี Augmented Reality (AI) เพื่อเพิ่มความสะดวกให้แก่ผู้ใช้ ในการเข้าถึงข้อมูลของแหล่งท่องเที่ยวต่าง ๆ และเพิ่มประสิทธิภาพของการจัดการการท่องเที่ยว

-ขอนแก่น,smart living lab: long term care digital innovation--- ได้รับการเสนอชื่อเป็นหนึ่งในผู้ผ่านเข้ารอบสุดท้ายภายใต้หมวดหมู่ของ การบริการสาธารณสุขและสังคม long term care digital innovation เป็นระบบรวบรวมข้อมูลสุขภาพพื้นฐานอัตโนมัติสำหรับผู้สูงอายุโดยใช้เทคโนโลยีอัจฉริยะเพื่อความสะดวกของบุคลากรทางการแพทย์และเพิ่มการเข้าถึงข้อมูลสาธารณสุขที่ถูกต้อง

เทศบาลนครขอนแก่นมีวัตถุประสงค์ที่จะพัฒนาระบบฐานข้อมูลสุขภาพผู้สูงอายุซึ่งสามารถเชื่อมต่อและแลกเปลี่ยนข้อมูลด้วยสมาร์ทการ์ดโดยโครงการนี้เป็นความร่วมมือร่วมกันของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหลายคน รวมถึงมหาวิทยาลัยขอนแก่น

(สนับสนุนการพัฒนาระบบฐานข้อมูลสุขภาพและการผลิตสมาร์ทการ์ด) กระทรวงสาธารณสุข (ส่วนช่วยในการตั้งค่าระบบการจัดการในรูปแบบ cloud), ขอนแก่น Smart Living Lab, MaKer club, Thai Health Tech,

NESBIA, สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (NHSO) เป็นต้น

-เชียงใหม่,smart city(เมืองอัจฉริยะ)((Policing Mobility Real-Time Crime Center)---ได้รับเลือกให้เป็นหนึ่งในผู้เข้ารอบสุดท้ายภายใต้ รัฐบาลท้องถิ่นของจังหวัดเชียงใหม่ได้เริ่มมาตรการการรักษาความปลอดภัยแบบเรียลไทม์เพื่อเพิ่มการเผยแพร่ข้อมูลและการสื่อสารที่ส่งเสริมสันติภาพและความสงบเรียบร้อยให้กับประชาชนและนักท่องเที่ยว ส่วนหนึ่งของการยกระดับจังหวัดเชียงใหม่'Public Safety – Smart Policing' ให้เป็นเมืองอัจฉริยะคือการจัดตั้งสำนักงานตำรวจภูธรภาค 5 ซึ่งเป็นหน่วยงานแรกในการรวมแพลตฟอร์มและการประสานงานที่หลากหลาย โครงการประกอบไปด้วยการติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อจัดการความปลอดภัยและการจราจรภายในจังหวัด เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง และแม่ฮ่องสอน ขณะนี้สำนักนายกรัฐมนตรีกำลังเตรียมคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการเพื่อพิจารณาและวิเคราะห์ประสิทธิภาพในการใช้ระบบกล้องวงจรปิด และให้คำแนะนำสำหรับการติดตั้งกล้องวงจรปิดเพิ่มเติมในอนาคต

-ขอนแก่น,smart living lab:ขอนแก่นcity bus---ได้รับการเสนอชื่อเป็นหนึ่งในผู้ผ่านเข้ารอบสุดท้ายภายใต้หมวดหมู่ 'Transportation – Transport Infrastructure'

ในฐานะที่เป็นเมืองที่กำลังเติบโต จังหวัดขอนแก่นต้องให้การสนับสนุนและพัฒนาการขนส่งทั้ง ทางบก,ทางอากาศ และทางทะเล เพื่อการจราจรที่ดีขึ้น หน่วยงานหลายแห่งทำงานร่วมกันเพื่อจัดตั้งรถประจำทางของเมืองขอนแก่นเพื่อให้บริการแก่นักท่องเที่ยวโดยเชื่อมต่อกับจุดสำคัญในเมืองรวมไปถึงสถานีขนส่ง 3 แห่งในจังหวัดด้วย ซึ่งบริการบัสอัจฉริยะนี้มาพร้อมกับระบบ Wi-Fi ฟรี กล้องวงจรปิดและ GPSซึ่งเชื่อมต่อกับแอพพลิเคชั่น KK Transit -"เราใช้เวลาถึงครึ่งทศวรรษในการกำหนดมาตรฐานโครงการสมาร์ทซิตี้ที่ดีที่สุดในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ในปีนี้เราได้นิยามรางวัลสมาร์ทซิตี้ใหม่ให้ทั่วโลกอีกครั้งเพื่อเป็นข้อมูลเชิงลึกที่สอดคล้องกันสำหรับการแบ่งปันข้อมูลในแนวปฏิบัติที่ดีที่สุดและการเปรียบเทียบระหว่างภูมิภาค เพื่อความสำเร็จของสมาร์ทซิตี้ในประเทศไทย"

Gerald Wang, Head of IDC Government & Health Insights, Asia Pacific.

-"เมืองอัจฉริยะกลายเป็นแหล่งทรัพยากรที่ครอบคลุมมากขึ้นเมื่อประชากรในเมืองเพิ่มขึ้นทำให้โลกทางกายภาพและดิจิทัลของเราเชื่อมโยงกันมากขึ้น เมืองอัจฉริยะไม่เพียงแต่ให้ความมั่นใจในความปลอดภัยทางกายภาพและการเข้าถึงความจำเป็นทางกายภาพ แต่ยังปกป้องและจัดหาทรัพยากรดิจิทัลเช่นบริการข้อมูลดิจิทัลและการนำเสนอร่วมกันระหว่างข้อมูลและเครื่องมือต่างๆให้ปลอดภัยจากการโจมตีทางไซเบอร์หรือจริยธรรม ซึ่งผู้เข้ารอบสุดท้าย SCAPA ในปีนี้จากประเทศไทยได้แสดงให้เห็นถึงความแตกต่างของความสำเร็จในการบรรลุการเปลี่ยนแปลงทางดิจิทัลในระบบนิเวศในเมือง ที่ตรงกับผลลัพธ์ด้านสิ่งแวดล้อม การเงิน และสังคม"

Jun-Fwu Chin, Head of Operations, IDC Thailand.

-Jun-Fwu ได้กล่าวเพิ่มเติมว่า "พวกเราเชื่อว่าความสำเร็จของเมืองอัจฉริยะจะเป็นการริเริ่มให้เกิดการพัฒนาเมื่อทุกๆโครงการให้ความร่วมมือกันยกระดับการลงทุนทางด้านเทคโนโลยีให้ครอบคลุมทั้งจังหวัด ใช้แพลตฟอร์มทั่วไปเพื่อลดเวลาการบริการ,ค่าบำรุงรักษาในการแบ่งปันข้อมูลข้ามระบบ และเป็นการผูกขาดการลงทุนด้านไอทีอย่างชาญฉลาด DEPAยังคงมีบทบาทสำคัญในฐานะผู้อำนวยความสะดวกให้ทั้งภาครัฐและเอกชนทำงานเนื่องด้วยความสำเร็จของเมืองสมาร์ทซิตี้ในประเทศไทย โดยเข้าร่วมกับผู้เข้ารอบสุดท้ายทั้งหมด"

-รางวัล IDC Smart City Asia Pacific (SCAPA) ถูกสร้างขึ้นเพื่อบ่งบอกมาตรฐานการทำงาน และเป็นการรวบรวมความคิดเห็นของประชาชนผ่านการลงคะแนนสาธารณะ คัดเลือกโครงการที่ดีที่สุดของแต่ละปีใน 12โดเมนเชิงกลยุทธ์ที่ใช้งานได้

ภายใต้กระบวนการเร่งรัดหกเดือนในการติดตามและประเมินผลหลายร้อยเมืองในเอเชียแปซิฟิก

-หมวดหมู่ของรางวัล-- ด้านการบริหาร,ด้านการมีส่วนร่วมของพลเมือง,ด้านความเสมอภาคทางดิจิทัลและการเข้าถึง,ด้านการพัฒนาเศรษฐกิจ การท่องเที่ยว ศิลปะ คลังความรู้ วัฒนธรรม และ open spaces, ด้านการศึกษา ด้านการบริการสาธารณสุข และ สังคม,ด้านความปลอดภัยของสาธารณะ,smart building, smart water,ด้านโครงสร้างพื้นฐานที่ยั่งยืน, ,ด้านการขนส่ง,ด้านการวางผังเมืองและการใช้ที่ดิน

-จากกว่า170 โครงการsmart cityที่ส่งมาจากทั้งภาครัฐและเอกชนทั่วภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก เพียงแค่57โครงการที่ได้ถูกเสนอชื่อให้เข้าสู่รอบสุดท้ายและมีคุณสมบัติที่จะไดรับการโหวตจากสาธารณะชนในการเลือกคัดสรรประจำปีของ SCAPAซึ่งจัดเป็นครั้งที่สอง

-IDC จึงขอเชิญชวนผู้ที่สนใจสามารถเข้าร่วมโหวตผู้แข็.ขันในรอบสุดท้ายนี้ได้ที่(เว็บ) จนถึงวันที่ 28 พ.ค. 2019 ประชาชนที่เช้าร่วมโหวตจะมีสิทธิ์ลุ้นรับ Samsung Galaxy S10+ โดยการสุ่มชื่อผู้โชคีผ่านทางอิเล็คทรอนิกส์ ซึ่งจะจับรางวัลหลังจากการประกาสผลผู้ชนะของภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก

-ผู้ชนะของภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกในหมวดหมู่รางวัลต่างๆจะถูกคัดเลือกโดยอิงจากการเปรียบเทียบโดย IDC analysts, การโหวตจากบุคคลทั่วไป และการตัดสินจาก international Advisory Council การประกาศผลจะเกิดขึ้นในเดือน กรกฎาคม 2019 โดยผลงานของผู้ชนะจะถูกนำเสนอร่วมกับผู้ชนะในภูมิภาคอื่นๆของการแข่งขัน IDC smart city ทั่วโลกเพื่อเป็นโอกาสในการเสนอชื่อเป็น 1ใน12 global IDC smart city champion

-สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับระเบียบการต่างๆของ Smart City Asia Pacific Awards กรุราติดต่อ Gerald Wang ([email protected])

-สอบถามเกี่ยวกับการโหวตหรือmedia queriesติดต่อ Akash Tiwari ([email protected] )

-ติดตามข่าวสารและอีพเดตต่างๆได้จากเว็บไซต์ smart city www.idc.com/ap/smartcities .

ข่าวประชาสัมพันธ์ล่าสุด

๑๒:๑๔ องค์การบรรจุภัณฑ์โลก จับมือ อินฟอร์มา มาร์เก็ตส์ ประเทศไทย ร่วมจัดกิจกรรมสัมมนาออนไลน์
๑๒:๑๒ การแข่งขันกีฬาขี่ม้าโปโลรายการ King Power International Ladies' Polo Tournament 2024
๑๒:๔๔ DEXON ปักธงรายได้ปี 67 ทะลุ 700 ลบ. โชว์ Backlog เฉียด 280 ลบ. ล็อคมาร์จิ้น 35-40%
๑๒:๑๐ JPARK ร่วมงาน Dinner Talk ผู้บริหารจดทะเบียนพบนักลงทุน จ.ราชบุรี
๑๒:๒๓ นีเวีย ซัน และ วัตสัน จับมือต่อปีที่สองชวนดูแลท้องทะเล กับโครงการ เพราะแคร์ จึงชวนแชร์ ร่วมพิทักษ์รักษ์ทะเลไทย
๑๒:๕๗ Cloud เทคโนโลยีที่อยู่ใกล้ตัว เพียงแค่คุณไม่รู้เท่านั้นเอง
๑๒:๒๘ โรยัล คานิน ร่วมกับ เพ็ทแอนด์มี จัดงาน Royal Canin Expo 2024: PAWRENTS' DAY เพื่อสร้างโลกที่ดีขึ้นสำหรับน้องแมวและน้องหมา
๑๒:๑๐ STEAM Creative Math Competition
๑๒:๔๔ A-HOST ร่วมวาน MFEC Inspire ขึ้นบรรยายพร้อมจัดบูธ Cost Optimization Pavilion
๑๒:๔๗ ฟินเวอร์! ส่องความคิ้วท์ 'ฟอส-บุ๊ค' ควงคู่ร่วมงาน Discover Thailand เสิร์ฟโมเมนต์ฉ่ำให้แฟนๆ ได้ดับร้อนกันยกด้อมรับซัมเมอร์ และร่วมส่งต่อความสุขในกิจกรรม 'Exclusive Unseen Food Trip กับ คู่ซี้