กรุงเทพฯ-20 มิ.ย.-สมาคมเทคโนโลยีชีวภาพสัมพันธ์ ภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคการศึกษา และประชาชน ร่วมระดมความคิดเห็นเสนอแนวทางมาตรการจำกัดการใช้สารพาราควอต คลอร์ไพรีฟอส และไกลโฟเซต เตรียมยื่นข้อสรุป 4 มาตรการแนวทางปฏิบัติให้กรมวิชาการเกษตร นำไปจัดทำร่างแผนมาตรการควบคุมสารทั้งสามชนิด เพื่อเสนอให้คณะกรรมการวัตถุอันตราย กระทรวงอุตสาหกรรม พิจารณาในลำดับต่อไป ศาสตราจารย์พิเศษ ดร. สุทัศน์ ศรีวัฒนพงษ์ ที่ปรึก
กรุงเทพฯ-17 เม.ย.-สมาคมเทคโนโลยีชีวภาพสัมพันธ์ ปัจจุบัน สารพาราควอต ได้รับการขึ้นทะเบียนให้ใช้ในกว่า 80 ประเทศ รวมทั้งในอเมริกา ญี่ปุ่น ออสเตรเลีย อินโนนีเซีย และมาเลเซีย ซึ่งมาเลเซียนั้นเคยยกเลิกใช้ แต่รัฐบาลได้มีการพิจารณาให้ขึ้นทะเบียนกลับมาใช้ได้อีก สำหรับประเทศไทย มีการใช้พาราควอต ในพืชไร่ ไม้ผล พืชทั่วไป ใช้ฉีดลงไปตรงๆ ที่หญ้า ไม่ได้ฉีดลงบนพืชหลัก พาราควอตยังคงเป็นทางเลือกที่ดีและ
กรุงเทพฯ-29 มี.ค.-สมาคมเทคโนโลยีชีวิภาพสัมพันธ์ สมาคมเทคโนโลยีชีวภาพสัมพันธ์ ร่วมกับ มูลนิธิโครงการหลวง สภาหอการค้าไทย สมาพันธ์เกษตรปลอดภัย และอดีตที่ปรึกษาปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ อดีตนายกสมาคมดินและปุ๋ยแห่งประเทศไทย จัดเสวนา ทางออกของประเทศไทย ความปลอดภัยทางการเกษตร หลังจากบางหน่วยงานนำเสนอข้อมูลที่ไม่ครบถ้วน ขาดข้อเท็จจริงทางวิทยาศาสตร์ สร้างความตื่นตระหนกและไม่มั่นใจในการบริโภค รวมถึงกระทบต่อ
กรุงเทพฯ-30 มี.ค.-หอการค้าไทย ด้วย สมาคมเทคโนโลยีชีวภาพสัมพันธ์ ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จัดแถลงข่าว โครงการหรือกิจกรรมเกี่ยวกับ การทำเกษตรกรรมเชิงการค้าเกี่ยวกับวัตถุดิบการผลิตอาหารที่เกี่ยวเนื่องกับ GM (Genetically Modified) ในโครงการหรือกิจกรรมที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรงทั้งทางด้านคุณภาพสิ่งแว
กรุงเทพฯ-6 ก.ย.-อิมเมจ อิมแพค สามองค์กรเพื่อการวิจัยด้านเกษตรและเศรษฐศาสตร์ระดับแนวหน้าของไทยและต่างประเทศนำทีมโดย ดร.สุทัศน์ ศรีวัฒนพงศ์ (ซ้าย) นายกสมาคมเทคโนโลยีชีวภาพสัมพันธ์ ดร.นิโคลัส คาลไลต์ชานโดเนค (ขวา) ผู้อำนวยการศูนย์เศรษฐศาสตร์และการจัดการเทคโนโลยีชีวภาพด้านการเกษตร (อีแมค) มหาวิทยาลัยมิซซูรี-โคลัมเบีย และ ดร.สุธัญญา ทองรักษ์ (กลาง)
กรุงเทพฯ-21 ส.ค.-อิมเมจ อิมแพค วันพุธที่ 29 สิงหาคม 2550 เวลา 9.30 11.30 น. - ดร.สุทัศน์ ศรีวัฒนพงศ์ นายกสมาคมเทคโนโลยีชีวภาพสัมพันธ์ จัดสัมมนาเพื่อนำเสนอผลการศึกษา เรื่อง การยอมรับข้าวโพดทนทานสารกำจัดวัชพืชในประเทศไทย: กรณีศึกษาแหล่งปลูกข้าวโพดหลัก 26 จังหวัด โดย Dr. Nicholas Kalaitzandonasskes ผู้อำนวยการศูนย์เศรษฐศาสตร์และการจัดการเทคโนโลยีชีวภาพเพื่อการเกษตร มหาวิทยาลัยมิ
กรุงเทพฯ-19 ก.ค.-สมาคมเทคโนโลยีชีวภาพสัมพันธ์ ปี 2549 เป็นปีแรกของทศวรรษที่สอง (เริ่มตั้งแต่ปี 2549-2558) ของการผลิตพืชเทคโนชีวภาพในเชิงการค้า พื้นที่ปลูกพืชเทคโนชีวภาพยังคงมีอัตราการขยายเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องเป็นเลข 2 หลัก โดยมีอัตราเพิ่ม 13% หรือเพิ่มขึ้น 12 ล้านเฮกตาร์ (75 ล้านไร่) รวมเป็นพื้นที่ปลูกทั้งหมด 102 ล้านเฮกตาร์ (637.5 ล้านไร่) ตั้งแต
กรุงเทพฯ-30 มี.ค.-อิมเมจ อิมแพค ฯพณฯ ดร. ธีระ สูตะบุตร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ที่ 2 จากซ้าย) ให้เกียรติเป็นประธานในงานแถลงโครงการศึกษาประโยชน์ที่เกิดขึ้นจากการใช้เทคโนโลยีชีวภาพการเกษตรในประเทศไทย โดยมี ดร.สุทัศน์ ศรีวัฒนพงศ์ นายกสมาคมเทคโนโลยีชีวภาพสัมพันธ์ (ซ้ายสุด) รศ.ดร. สุพัฒน์ อรรถธรรม คณะเกษตรกำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (ที่ 2 จากขวา) และดร. อรชส นภสินธุวงศ์ ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตรและทรัพ
กรุงเทพฯ-24 มี.ค.-อาซิแอม เบอร์สัน-มาร์สเตลเลอร์ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ องค์การไอซ่า(ประเทศไทย) สมาคมเทคโนโลยีชีวภาพสัมพันธ์ และสมาคมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทางอาหารแห่งประเทศไทย มีความยินดีเรียนเชิญสื่อมวลชนร่วมงานสัมมนาพิเศษเรื่อง สถานภาพระดับสากลของพืชดัดแปรพันธุกรรมเชิงพาณิ