สมาคมเทคโนโลยีชีวภาพสัมพันธ์ - อีแมค - ม. สงขลา ฯ ร่วมเผยผลการศึกษา “ศักยภาพในการยอมรับข้าวโพดทนทานสารกำจัดวัชพืชในประเทศไทย: ปัจจัยขับเคลื่อนทางด้านเศรษฐกิจและด้านสถาบัน”

พฤหัส ๐๖ กันยายน ๒๐๐๗ ๑๗:๔๙
กรุงเทพฯ--6 ก.ย.--อิมเมจ อิมแพค
สามองค์กรเพื่อการวิจัยด้านเกษตรและเศรษฐศาสตร์ระดับแนวหน้าของไทยและต่างประเทศนำทีมโดย ดร.สุทัศน์
ศรีวัฒนพงศ์ (ซ้าย) นายกสมาคมเทคโนโลยีชีวภาพสัมพันธ์ ดร.นิโคลัส คาลไลต์ชานโดเนค (ขวา) ผู้อำนวยการศูนย์เศรษฐศาสตร์และการจัดการเทคโนโลยีชีวภาพด้านการเกษตร (อีแมค) มหาวิทยาลัยมิซซูรี-โคลัมเบีย และ ดร.สุธัญญา ทองรักษ์ (กลาง) รองศาสตราจารย์และคณบดี คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ร่วมจัดงานแถลงผลการศึกษา “ศักยภาพในการยอมรับข้าวโพดทนทานสารกำจัดวัชพืชในประเทศไทย: ปัจจัยขับเคลื่อนทางด้านเศรษฐกิจและด้านสถาบัน” ณ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ บางเขน เมื่อเร็วๆ นี้ ผลการศึกษาพบว่า เกษตรกรผู้ปลูกข้าวโพดในประเทศไทยตระหนักถึง คุณค่าทางเศรษฐกิจจากประโยชน์ที่เป็นไปได้ของเทคโนโลยีนี้ที่มีต่อสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัยต่อสุขภาพของผู้ใช้เทคโนโลยี
สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมที่บริษัท อิมเมจ อิมแพค จำกัด
ภัทรา จาตนิลพันธ์ ต่อ 112 หรือ สุชาดา เติมเตชาติพงศ์ ต่อ 107
โทร: 02-253-6809-12 อีเมล: [email protected] หรือ [email protected]

ข่าวประชาสัมพันธ์ล่าสุด

๑๗:๒๑ 60 ปีแห่งความมุ่งมั่น! คาโอ คว้ารางวัลอุตสาหกรรมดีเด่น 2 ประเภทในปี 2567 ชูความสำเร็จด้านสิ่งแวดล้อมและความรับผิดชอบต่อสังคม
๑๗:๒๓ AVATR ก้าวสู่ความสำเร็จครั้งยิ่งใหญ่! ระดมทุนในรอบ Series C ได้มากกว่า 11,000 ล้านหยวน พร้อมก้าวสู่ความเป็นผู้นำในตลาดรถยนต์ไฟฟ้าหรูหราแห่งอนาคต
๑๗:๐๖ Zoom เปิด 10 เทรนด์ ใช้ AI ในการทำงานปี 2568
๑๗:๑๐ เปิดมุมมองอาชีพที่หลากหลายในอุตสาหกรรมกาแฟไทย เจาะลึกบทบาทและแนวทางยกระดับสู่การเติบโตอย่างยั่งยืน
๑๗:๑๔ อนาคตแห่งการเดินทาง: 5 คนขับ AI จากแอปเรียกรถ Maxim
๑๗:๕๕ Well-Being House บ้านชั้นเดียวเอาใจคนวัยเกษียณ
๑๗:๑๖ กทม. แจงเปิดกว้างการแข่งขันโครงการเช่าคอมพิวเตอร์พกพาสำหรับนักเรียน
๑๖:๓๗ รายงาน Ericsson Mobility Report ฉบับล่าสุด เผยผู้เริ่มให้บริการ 5G กลุ่มแรกกำลังมุ่งสู่โมเดลธุรกิจที่เน้นประสิทธิภาพ
๑๗:๒๕ เมดีซ กรุ๊ป ร่วมสมทบทุนสนับสนุนมูลนิธิโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช ช่วยผู้ป่วยในชนบท ถิ่นทุรกันดารที่ห่างไกล
๑๖:๔๔ CNN จับตา นวัตกรรมล่าสุดจากนักวิจัยไทย พลิกโฉมการตรวจคัดกรองความเครียดด้วย เหงื่อ