กรุงเทพฯ--15 ม.ค.--ม.มหิดล
สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล ร่วมกับ สํานักงานเสริมสร?าง เอกลักษณ?ของชาติ สํานักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี และสโมสรยุวกวี ชมรมเทพศรีกวีศิลป์ ขอเชิญชวนนักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไปร่วมกิจกรรมการประกวดเรียงความ ในหัวข้อเรื่อง "การส่งเสริมสร้างสรรค์เอกลักษณ์ของชาติ", ประกวดคำขวัญ ในหัวข้อเรื่อง "การเสริมสร้างความมั่นคงยั่งยืนแก่เอกลักษณ์ของชาติ" และ ประกวดข้อเสนอแนะการเสริมสร้างความมั่นคงยั่งยืนแก่เอกลักษณ์ของชาติ ส่งผลงานภายใน ๑๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑ นี้
การเปิดโอกาสให?พลเมืองทุกภาคส?วนในสังคมได?มีส?วนร?วมตามความเหมาะสมทุกเพศทุกวัยในกิจกรรมต?างๆ ที่เป?นเอกลักษณ?ของชาติ เป?นกระบวนการสําคัญที่ส?งเสริมและเสริมสร?างเอกลักษณ?ของชาติให?เกิดความเข?มแข็ง มั่นคง เป?นเครื่องประสานความสามัคคี ให?คนในชาติอยู?ร?วมกันอย?างสันติและยั่งยืน โดยเฉพาะอย?างยิ่ง นักเรียนและนักศึกษาถือว?าเป?นส?วนหนึ่งของพลเมืองที่จะเป?นกําลังสําคัญแก?ชาติ บ?านเมืองหรือสังคมในอนาคต หากได?ส?งเสริมให?พวกเขาได?มีส?วนร?วมในกิจกรรมต?างๆ ที่เกี่ยวกับเอกลักษณ?ของชาติ จะเป?นการเสริมสร?างให?เกิดความรู? ความเข?าใจ ความรัก หวงแหน และความรู?สึกสํานึกผูกพันในความเป?นชาติ เป?นนิสัยพฤติกรรมทางสังคมที่ส?งผลให?เกิดความเข?มแข็ง ความสามัคคี และการอยู?ร?วมกันอย?างสันติสุขและยั่งยืนได?ในอนาคต สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล ร่วมกับ สํานักงานเสริมสร?างเอกลักษณ?ของชาติ สํานักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี และสโมสรยุวกวี ชมรมเทพศรีกวีศิลป์ จัดประกวดเรียงความ และคําขวัญ เกี่ยวกับเอกลักษณ?ของชาติและประกวดข?อเสนอแนะในการจัดทําแผนแม?บทเพื่อเสริมสร?างความเข?มแข็งยั่งยืนแก?เอกลักษณ?ของชาติขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส?งเสริม อนุรักษ? และเผยแพร?คุณค?า ความสําคัญของเอกลักษณ?ของชาติ และประมวลความคิดเห็นและข?อเสนอแนะมาใช?ในการจัดทําแผนแม?บทการเสริมสร?างเอกลักษณ?ของชาติ
กลุ?มเป?าหมาย แบ?งเป?น ๔ ระดับ ได?แก? ๑.นักเรียนระดับ ป.๔ — ป.๖ ๒.นักเรียนระดับ ม.๑ — ม.๓ ๓.นักเรียนระดับ ม.๔ — ม.๖ และ ๔.อาชีวศึกษา และ ๔.ระดับนิสิต นักศึกษา รวมทั้งประชาชนทั่วไป
ประเภทของการประกวด แบ?งเป?น ๓ ประเภท ได?แก?
๑. การประกวดเรียงความ ในหัวข?อเรื่อง “การส?งเสริมสร?างสรรค?เอกลักษณ?ของชาติ” โดยมีวัตถุประสงค? เพื่อพัฒนา ฟ??นฟู และอนุรักษ?เอกลักษณ?ของชาติ เขียนตัวบรรจงหรือพิมพ?ลงในกระดาษ เอ ๔ โดยกําหนดให?นักเรียนระดับ ป.๔ - ป.๖ เขียนความยาว ๑ - ๒ หน?ากระดาษ, นักเรียนระดับ ม.๑ - ม.๓ เขียนความยาว ๒-๓ หน?ากระดาษ, นักเรียนระดับ ม.๔ - ม.๖ และอาชีวศึกษา เขียนความยาว ๒ - ๓ หน?ากระดาษ และระดับนิสิต นักศึกษา รวมทั้งประชาชนทั่วไป เขียนความยาว ๓ - ๔ หน?ากระดาษ โดยส?งเรียงความได?คนละ ๑ เรื่อง ตัดสินจากความมีเอกภาพ โดยเขียนให?ตรงตามหัวข?อเรื่อง และมีประเด็นตามเป?าหมายที่กําหนด มีสัมพันธภาพ คือ มีกระบวนความของเนื้อหาที่ต?อเนื่องสัมพันธ?กัน มีสารัตถภาพ คือ มีเนื้อหาสาระสําคัญของเรื่องที่โดดเด?น กระชับ เข?าใจง?าย และ ครอบคลุม
๒. การประกวดคําขวัญ ในหัวข?อเรื่อง “การเสริมสร?างความมั่นคงยั่งยืนแก?เอกลักษณ?ของชาติ” ความยาวไม?เกิน ๒๐ พยางค?ต?อสํานวน ส?งได?คนละไม?เกิน ๓ สํานวน โดยคณะกรรมการจะพิจารณา คัดเลือกสํานวนที่ดีที่สุดเพียงสํานวนเดียว ตัดสินจากเนื้อหาที่ปลุกจิตสํานึกของคนในชาติให?ตระหนักถึงความสําคัญของเอกลักษณ?ของชาติ ใช?ภาษา สั้น กระชับ กะทัดรัด สละสลวย กินความ กินใจ และง?ายต?อการจดจํา
๓. การประกวดข?อเสนอแนะการเสริมสร?างความมั่นคงยั่งยืนแก?เอกลักษณ?ของชาติ โดยเขียนลําดับความคิดให?เป?นขั้นตอน มีเนื้อหาสาระครอบคลุมกระบวนการส?งเสริม สร?างสรรค? พัฒนา ฟ??นฟู และอนุรักษ?เอกลักษณ?ของชาติ และเป?นข?อเสนอแนะที่เน?นการมีส?วนร?วมของประชาชนเป?นสําคัญ เขียนตัวบรรจงหรือพิมพ?ลงในกระดาษ เอ๔ ความยาวไม?เกิน ๓ หน?ากระดาษ ตัดสินจากการมีความคิดชัดเจน ลําดับความคิดเป?นขั้นตอน มีหลักการและวิธีปฏิบัติที่สามารถนําไปปฏิบัติได?จริง
เนื้อหาสาระของเรื่องที่ประกวดทั้ง ๓ ประเภท จะต?องครอบคลุมองค?ประกอบสําคัญของเอกลักษณ?ของชาติ ๔ ประการ ได?แก? สถาบันชาติ สถาบันศาสนา สถาบันพระมหากษัตริย? และสถาบันการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย?เป?นพระประมุข โดยมีเป?าหมายเพื่อส?งเสริม สร?างสรรค? พัฒนา ฟ??นฟู และอนุรักษ?เอกลักษณ?ของชาติให?มีความมั่นคง ยั่งยืน เป?นศูนย?รวมพลังที่นําความสุขอย?างยั่งยืนมาสู?สังคมไทย สำหรับผู้สมัครที่เป?นนักเรียน นักศึกษา ต?องแนบสําเนาบัตรประจําตัวนักเรียน / นักศึกษา หรือใบรับรองจากสถานศึกษาไปด?วย
คณะกรรมการจะพิจารณาตัดสินผลงานที่ส?งเข?าประกวดทุกประเภท โดยแบ?งออกเป?นภูมิภาค ๕ ภูมิภาค ดังนี้
- ภาคเหนือ ๑๖ จังหวัด ได?แก? จังหวัดเชียงใหม? เชียงราย แม?ฮ?องสอน พะเยา แพร? น?าน ลําปาง ลําพูน ตาก สุโขทัย พิษณุโลก เพชรบูรณ? พิจิตร กําแพงเพชร นครสวรรค? และอุตรดิตถ?
- ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ๑๙ จังหวัด ได?แก? จังหวัดเลย หนองบัวลําภู สกลนคร หนองคาย อุดรธานี มุกดาหาร นครพนม กาฬสินธุ? ชัยภูมิ มหาสารคาม อํานาจเจริญ ขอนแก?น ยโสธร ร?อยเอ็ด นครราชสีมา บุรีรัมย? ศรีสะเกษ สุรินทร? และอุบลราชธานี
- ภาคกลาง ๒๑ จังหวัด ได?แก? จังหวัดลพบุรี อุทัยธานี ชัยนาท นครนายก สิงห?บุรี สระบุรี พระนครศรีอยุธยา สุพรรณบุรี อ?างทอง กาญจนบุรี ราชบุรี เพชรบุรี สมุทรสงคราม ประจวบคีรีขันธ? ระยอง สระแก?ว ปราจีนบุรี จันทบุรี ชลบุรี ฉะเชิงเทรา และตราด
- ภาคใต? ๑๔ จังหวัด ได?แก? จังหวัดชุมพร ระนอง สุราษฎร?ธานี พังงา ภูเก็ต กระบี่ ตรัง สตูล นครศรีธรรมราช พัทลุง สงขลา ยะลา ป?ตตานี และนราธิวาส
- กรุงเทพฯและปริมณฑล ๖ จังหวัด ได?แก? จังหวัดนครปฐม นนทบุรี ปทุมธานี สมุทรปราการ สมุทรสาคร และกรุงเทพมหานคร จากนั้น จะพิจารณาตัดสินหาผู?ชนะการประกวดในระดับภูมิภาค โดยมีรางวัลการประกวดประเภทและระดับละ ๓ รางวัล แล?วนําผู?ชนะในระดับภูมิภาคมารวมตัดสินในระดับประเทศ ซึ่งจะมีรางวัลการประกวดประเภทและระดับละ ๕ รางวัล
ผู?ชนะการประกวดระดับภูมิภาคและระดับประเทศจะได้ไปรับรางวัลที่ทําเนียบรัฐบาลในวันที่ ๒๕ เมษายน ๒๕๕๑ สําหรับผู?ชนะการประกวดข?อเสนอแนะการเสริมสร?างความมั่นคงยั่งยืนแก?เอกลักษณ?ของชาติ จะได้นําเสนอผลงานในวันประกาศผลรางวัล โดยใช?เวลาในการนําเสนอคนละประมาณ ๑๐ นาที ผลงานที่ชนะการประกวดทุกระดับและทุกประเภท เป?นลิขสิทธิ์ในการเผยแพร?ของสํานักงานเสริมสร?างเอกลักษณ?ของชาติ สํานักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี และสถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล
รางวัลการประกวดระดับภูมิภาค มีรางวัลการประกวดประเภทและระดับละ ๓ รางวัลเท?ากัน คือ รางวัลชนะเลิศ เกียรติบัตร พร?อมทุนการศึกษา ๒,๐๐๐ บาท รางวัลรองชนะเลิศ เกียรติบัตร พร?อมทุนการศึกษา ๑,๐๐๐ บาท และรางวัลชมเชย เกียรติบัตร พร?อมทุนการศึกษา ๕๐๐ บาท
รางวัลการประกวดระดับประเทศ มีรางวัลการประกวดประเภทและระดับละ ๕ รางวัล คือ รางวัลชนะเลิศ เกียรติบัตร พร?อมทุนการศึกษา ๕,๐๐๐ บาท รางวัลรองชนะเลิศอันดับ ๑ เกียรติบัตร พร?อมทุนการศึกษา ๓,๐๐๐ บาท รางวัลรองชนะเลิศอันดับ ๒ เกียรติบัตร พร?อมทุนการศึกษา ๒,๐๐๐ บาท และ รางวัลชมเชย ๒ รางวัล เกียรติบัตร พร?อมทุนการศึกษา ๑,๐๐๐ บาท (หมายเหตุ : ผู?ที่ผ?านการคัดเลือกเข?ารอบชิงชนะเลิศทั้งในระดับภูมิภาคและในระดับประเทศมีค?าใช?จ?ายในการเดินทางให?คนละ ๕๐๐ บาท )
เปิดรับผลงานตั้งแต่บัดนี้ — ๑๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑ ส?งผลงาน พร้อมชื่อ ที่อยู? และหมายเลขโทรศัพท?ที่สามารถติดต?อได?สะดวกไปที่สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล เลขที่ ๙๙๙ หมู? ๕ ถนนพุทธมณฑล สาย ๔ ตําบลศาลายา อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ๗๓๑๗๐ (วงเล็บมุมซองว?า “ประกวดเรียงความ คําขวัญ และข?อเสนอแนะ”) สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่โทร. ๐-๒๘๐๐-๒๓๐๘-๑๔ ต่อ ๓๒๐๒, ๓๑๒๑ และ ๐-๒๘๐๐-๒๓๐๔ www.lc.mahidol.ac.th
- ธ.ค. ๒๕๖๗ ม.มหิดล-สถานทูตนอร์เวย์เตรียมเปิด'ศูนย์ภาษาและวัฒนธรรมไทย-เมียนมา'
- ธ.ค. ๒๕๖๗ ม.มหิดล จัดทำฐานข้อมูลดิจิทัลเอกสารโบราณเพื่อการอนุรักษ์ภาษาและวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ไทในภาคกลาง
- ธ.ค. ๒๕๖๗ ม.มหิดล ส่งเสริมการใช้ภาษาและวัฒนธรรม เปลี่ยนโลกที่แตกต่างสู่ความเป็นหนึ่งเดียว ด้วยนวัตกรรมMU Thai Test