เกี่ยวกับการจัดทำบัญชีคลังสินค้า
บัญชีสินค้าคงเหลือ พัสดุ
Inventory Record and Physical Count
วันอังคารที่ 28 เมษายน 2552
ณ โรงแรมดุสิตปริ๊นเซสศรีนครินทร์ ถนนศรนครินทร์
การซื้อ-ขาย สินค้าไม่ว่าจะเป็นผู้ผลิตหรือผู้ขาย คงรู้และเข้าใจอย่างลึกซึ้ง เกี่ยวกับปัญหาที่มัก เกิดขึ้น ในการทำบัญชี.ตรวจนับ สินค้าคงเหลือ รวมทั้งการทำรายงานต่าง ๆ ที่หนักเอามาก ๆ เห็นจะเป็นกิจการที่มีสินค้า หลากหลายรูปแบบ หลากหลายสายพันธ์ที่ต้องจัดการ ความวุ่นวาย ก็ยิ่งเพิ่มมากขึ้นหลายเท่าทวีคูณ และกิจการจำนวนไม่น้อยมีการขายทั้งในระบบและนอก ระบบ ปะปนกันอยู่ในเนื้อเดียวกัน ส่งผลให้เกิดความสับสนและปัญหามากมายในการทำบัญชี ปัญหาที่เกิดขึ้นหากไม่ทำให้ถูกต้องเมื่อเจ้าหน้าที่สรรพากรมาตรวจและรายการที่มักถูก ตรวจเป็นประเด็นความผิดของผู้ประกอบการอยู่เสมอคือ สินค้าคงเหลือ ซึ่งส่งผลให้ต้องเสีย เบี้ยปรับกันเป็นประจำสม่ำเสมอ
เจ้าหน้าที่บัญชี ผู้ประกอบการ ต้องมาเริ่มต้นทำความเข้าใจ เกี่ยวกับหน้าที่ของผู้ประกอบการ ต้องทำอย่างไรกับบัญชีสินค้าคงเหลือ การตรวจนับ การจัดทำรายงานสินค้าให้สอดคล้องกับมาตร ฐานการบัญชี และกฎหมายภาษีอากร
กำหนดการ
08.30-09.00 น. ลงทะเบียน
09.00-16.00 น
แนวปฏิบัติตามมาตรฐานบัญชี ฉบับที่ 31 เกี่ยวกับสินค้าคงเหลือ
สิ่งที่ต้องทำเพื่อความถูกต้องของการบันทึกสินค้าคงเหลือ
ประเด็นปัญหาที่เกิด และแนวทางแก้ไข
สินค้าคงเหลือเกินกว่า รายงานสินค้าคงเหลือ
สินค้าคงเหลือน้อยกว่ารายงานสินค้าคงเหลือ
การนำสินค้าที่ไม่ผ่าน Spec ไปทำการส่งเสริมการขาย
สินค้าตกรุ่น ล้าสมัย ขายไม่ออก ชำรุด เสียหาย ยืมไปจำหน่าย ทดลองใช้ นำไป เป็นตัวอย่าง
ปัญหากรณีมีการขายควบ จะลงบันทึกบัญชีอย่างไร เช่นมีสินค้า มากกว่า 1 อย่างอยู่ในแพคเดียวกัน
การตีราคาสินค้าคงเหลือ และวัตถุดิบ
การเสียเบี้ยปรับเงินเพิ่มและการรับผิด
การเตรียมความพร้อมและการวางแผนในการตรวจนับ และการตีราคาสินค้าปลายงวดตามหลักภาษีอากร
การบันทึกสินค้าคงคลัง
การกำหนดแผนงานตรวจนับ
การตรวจนับแบบต่าง ๆ
ปัญหาในการตรวจนับและค่าความคลาดเคลื่อนที่ยอมรับได้
การบันทึกการตรวจนับ
ข้อควรระวังเป็นพิเศษในการตรวจนับ
การตรวจแบบสุ่มนับและตรวจนับแบบวนรอบ
การตรวจปริมาณสินค้าจากรายงาน
ฯลฯ
จัดทำรายงานสินค้าคงเหลือและรูปแบบของรายงานตามหลักเกณฑ์ของกรมสรรพากร
การบันทึกบัญชีสินค้า และการปรับปรุงรายการทางบัญชีให้ถูกต้องและเป็นไปตามข้อกำหนดของกรมสรรพากร
การจำหน่าย การขาย การทำการส่งเสริมการขาย โดยไม่คิดมูลค่า ซึ่งสรรพากรถือว่าเป็นการขาย
มีขั้นตอนในการบันทึกบัญชีอย่างไร
การปรับปรุงรายงานและการปิดบัญชีสต็อกสินค้าที่ถูกต้อง
ถามตอบ ผู้ที่ควรเข้าอบรม
ฝ่ายบัญชี หรือผู้ที่ทำงานด้านคลังสินค้า ที่เคยเข้าอบรมด้านบริหารคลังสินค้ามาแล้ว
วิทยากร
อ.เพ็ญแข ลิ่มสุวรรณโรจน์
ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต
ที่ปรึกษาและวางระบบบัญชี และสินค้าคงคลัง
มีประสบการณ์ในการบริหารงานด้านบัญชี
ค่าลงทะเบียน
2,700 + VAT 189 = 2,889 บาท
เลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากร 3030704238
บริษัท วาโซ่ จำกัด 79/68 ซอยสามวา 29 ถนนสามวา แขวงบางชัน เขตคลองสามวา
กรุงเทพ ฯ 10510
วิธีการสมัคร
สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม และขอใบสมัคร ที่ โทร.0-29062211-2 หรือ
แฟกซ์ใบสมัครมาที่ 0-29062127, 029062231
E-mail: ฝ่ายลูกค้าสัมพันธ์
วิธีการชำระเงิน
เช็คสั่งจ่าย บริษัท วาโซ่ จำกัด หรือ WASO LTD. หรือ
โอนเงินเข้าบัญชีกระแสรายวัน ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) สาขา รามอินทรา กม.10
เลขที่บัญชี 142-3-00534-2
แฟ็กซ์ใบ Pay in ระบุชื่อคอร์ส และชื่อบริษัท ไปที่
0-29062231, 029062127 (ผู้เข้าอบรมเป็นผู้รับผิดชอบค่าธรรมเนียมการโอนกรณีโอนเงินจากต่างจังหวัด)
การแจ้งยกเลิกการอบรม
ในกรณีที่ท่านสำรองที่นั่งไว้แล้วแต่ไม่สามารถเข้าร่วม
สัมมนาได้ เนื่องจากเหตุจำเป็น
กรุณาแจ้งยกเลิกก่อนวันงานอย่างน้อย 3 วันทำการ
หากไม่แจ้งตามกำหนด ท่านจะต้องชำระค่าธรรมเนียมในการดำเนินงาน เป็นจำนวน40% ของ อัตราค่าลงทะเบียน