น้องใหม่ มรนม.อบรมการใช้เครื่องมือพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์

ศุกร์ ๑๒ มิถุนายน ๒๐๐๙ ๑๕:๑๙
เมื่อวันที่ 6-7 มิถุนายน 2552 ที่ผ่านมา ณ ห้องประชุม สุวัจน์ ลิปตพัลลภ นักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ได้จัดให้มีกิจกรรมโครงการอบรมการใช้เครื่องมือพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ โดยมีผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สมทรง อัศวกุล ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายวิชาการเป็นประธาน และกล่าวให้โอวาทแก่นักศึกษา แล้วจึงเป็นการบรรยายเรื่อง โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช โดย รองศาสตราจารย์กมลทิพย์ กสิภาร์ หัวหน้าโครงการอนุรักษ์ พันธุกรรมพืช และรองประธานโปรแกรมวิชาโปรแกรมวิชาชีววิทยา และชีววิทยาประยุกต์ ซึ่งการจัดอบรมในครั้งนี้เป็นการจัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการใช้เครื่องมือพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์แก่นักศึกษาใหม่ ชั้นปีที่ 1 ภาคปกติ ปีการศึกษา 2552 โปรแกรมวิชาฟิสิกส์และวิทยาศาสตร์ทั่วไป โปรแกรมวิชาเคมีและ โปรแกรมวิชาชีววิทยา และชีววิทยาประยุกต์ โดยจัดในรูปแบบของการเข้าฐาน ซึ่งมีรุ่นพี่คอยให้ความรู้ และคำแนะนำอย่างใกล้ชิด

กิจกรรมในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อให้นักศึกษาได้มีความรู้ในการใช้เครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งเป็นสิ่งที่มีความจำเป็นเพราะจะต้องนำไปใช้ในระหว่างการศึกษาอีกทั้งยังเป็นการสานสัมพันธ์ระหว่างรุ่นพี่และรุ่นน้องให้มีความแน่นแฟ้นยิ่งขึ้นด้วย

ข่าวประชาสัมพันธ์ล่าสุด

๑๗:๒๑ 60 ปีแห่งความมุ่งมั่น! คาโอ คว้ารางวัลอุตสาหกรรมดีเด่น 2 ประเภทในปี 2567 ชูความสำเร็จด้านสิ่งแวดล้อมและความรับผิดชอบต่อสังคม
๑๗:๒๓ AVATR ก้าวสู่ความสำเร็จครั้งยิ่งใหญ่! ระดมทุนในรอบ Series C ได้มากกว่า 11,000 ล้านหยวน พร้อมก้าวสู่ความเป็นผู้นำในตลาดรถยนต์ไฟฟ้าหรูหราแห่งอนาคต
๑๗:๐๖ Zoom เปิด 10 เทรนด์ ใช้ AI ในการทำงานปี 2568
๑๗:๑๐ เปิดมุมมองอาชีพที่หลากหลายในอุตสาหกรรมกาแฟไทย เจาะลึกบทบาทและแนวทางยกระดับสู่การเติบโตอย่างยั่งยืน
๑๗:๑๔ อนาคตแห่งการเดินทาง: 5 คนขับ AI จากแอปเรียกรถ Maxim
๑๗:๕๕ Well-Being House บ้านชั้นเดียวเอาใจคนวัยเกษียณ
๑๗:๑๖ กทม. แจงเปิดกว้างการแข่งขันโครงการเช่าคอมพิวเตอร์พกพาสำหรับนักเรียน
๑๖:๓๗ รายงาน Ericsson Mobility Report ฉบับล่าสุด เผยผู้เริ่มให้บริการ 5G กลุ่มแรกกำลังมุ่งสู่โมเดลธุรกิจที่เน้นประสิทธิภาพ
๑๗:๒๕ เมดีซ กรุ๊ป ร่วมสมทบทุนสนับสนุนมูลนิธิโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช ช่วยผู้ป่วยในชนบท ถิ่นทุรกันดารที่ห่างไกล
๑๖:๔๔ CNN จับตา นวัตกรรมล่าสุดจากนักวิจัยไทย พลิกโฉมการตรวจคัดกรองความเครียดด้วย เหงื่อ