เชิญชวนเด็กๆ ร่วมส่งผลงานเข้าประกวดใน "กิจกรรม แม่ & ลูก แสนรัก" (ห้องสมุดชวลิต ธนะชานันท์ สมาคมธรรมศาสตร์ฯ)

จันทร์ ๑๑ กรกฎาคม ๒๐๑๑ ๑๕:๒๔
เนื่องในโอกาสวันแม่แห่งชาติที่จะมาถึงในเดือนสิงหาคมนี้ห้องสมุดชวลิต ธนะชานันท์ สมาคมธรรมศาสตร์ ได้จัดกิจกรรม แม่&ลูก แสนรักเพื่อให้น้องๆ ส่งผลงานเข้าร่วมประกวด โดยไม่จำกัดอายุ วิธีการตัดสินดูจากแนวความคิดและไอเดียสร้างสรรคฺ์ ไม่มีการเปรียบเทียบผลงานประกอบด้วย

1. กิจกรรมอ่าน..สานรัก

แนะนำหนังสือที่ประทับใจซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับแม่ หรือหนังสือที่ต้องการให้แม่อ่าน โดยมีครบตามรายละเอียดที่กำหนดให้ ดังนี้ ชื่อเรื่อง แต่งโดย เนื้อเรื่องเกี่ยวกับเหตุผลที่ชอบอ่านหนังสือเล่มนี้ ผู้แนะนำให้อ่าน เหตุจูงใจให้อ่าน และรูปภาพหน้าปกหนังสือ (วาดประกอบ)

2. กิจกรรมภาพวาดไออุ่นรัก

วาดภาพความประทับใจระหว่างแม่กับลูก พร้อมทั้งบอกเล่าเหตุผลโดยจะต้องแนบข้อมูลเจ้าของผลงาน ได้แก่ ชื่อ-นามสกุล ชื่อเล่น สถานศึกษา อายุ และเบิร์โทรติดต่อกลับ มากับผลงานด้วยค่ะสนใจสามารถส่งผลงานได้ทางอีเมลล์([email protected]) หรือส่งด้วยตนเองที่ห้องสมุดชวลิต ธนะชานันท์ ตั้งแต่บัดนี้ - 29 กรกฎาคม 2554

ประกาศผลวันที่ 8 สิงหาคม 2554 และมอบรางวัลวันที่ 11 สิงหาคม 2554

สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม โทร. 02-286-0861 กด 117, 120 tuassolib

ข่าวประชาสัมพันธ์ล่าสุด

๑๗:๒๑ 60 ปีแห่งความมุ่งมั่น! คาโอ คว้ารางวัลอุตสาหกรรมดีเด่น 2 ประเภทในปี 2567 ชูความสำเร็จด้านสิ่งแวดล้อมและความรับผิดชอบต่อสังคม
๑๗:๒๓ AVATR ก้าวสู่ความสำเร็จครั้งยิ่งใหญ่! ระดมทุนในรอบ Series C ได้มากกว่า 11,000 ล้านหยวน พร้อมก้าวสู่ความเป็นผู้นำในตลาดรถยนต์ไฟฟ้าหรูหราแห่งอนาคต
๑๗:๐๖ Zoom เปิด 10 เทรนด์ ใช้ AI ในการทำงานปี 2568
๑๗:๑๐ เปิดมุมมองอาชีพที่หลากหลายในอุตสาหกรรมกาแฟไทย เจาะลึกบทบาทและแนวทางยกระดับสู่การเติบโตอย่างยั่งยืน
๑๗:๑๔ อนาคตแห่งการเดินทาง: 5 คนขับ AI จากแอปเรียกรถ Maxim
๑๗:๕๕ Well-Being House บ้านชั้นเดียวเอาใจคนวัยเกษียณ
๑๗:๑๖ กทม. แจงเปิดกว้างการแข่งขันโครงการเช่าคอมพิวเตอร์พกพาสำหรับนักเรียน
๑๖:๓๗ รายงาน Ericsson Mobility Report ฉบับล่าสุด เผยผู้เริ่มให้บริการ 5G กลุ่มแรกกำลังมุ่งสู่โมเดลธุรกิจที่เน้นประสิทธิภาพ
๑๗:๒๕ เมดีซ กรุ๊ป ร่วมสมทบทุนสนับสนุนมูลนิธิโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช ช่วยผู้ป่วยในชนบท ถิ่นทุรกันดารที่ห่างไกล
๑๖:๔๔ CNN จับตา นวัตกรรมล่าสุดจากนักวิจัยไทย พลิกโฉมการตรวจคัดกรองความเครียดด้วย เหงื่อ