ศูนย์โรคปวดหลัง โรงพยาบาลลานนา ขอเชิญท่านผู้สนใจ ร่วมสัมนาวิชาการในหัวข้อ“โรคปวดหลังป้องกันได้และวิธีการรักษาแบบไม่ต้องผ่าตัด”

จันทร์ ๐๙ กรกฎาคม ๒๐๑๒ ๑๓:๕๘
ศูนย์โรคปวดหลัง โรงพยาบาลลานนา ขอเชิญท่านผู้สนใจ ร่วมสัมนาวิชาการในหัวข้อ“โรคปวดหลังป้องกันได้และวิธีการรักษาแบบไม่ต้องผ่าตัด”

ในวันเสาร์ ที่ 21 กรกฎาคม 2555

เวลา 09.00 -12.00 น. ณ ห้องเชียงดาว โรงแรมเซ็นทาราดวงตะวันซึ่งนอกจากจะมีการบรรยายทางวิชาการแล้วยังมีการฝึกปฏิบัติจริงอีกด้วย

กำหนดการ

09.00 -09.30 ลงทะเบียนเข้างาน

09.30-09.35 นายแพทย์ดุสิต ศรีสกุล ผู้อำนวยการโรงพยาบาลกล่าวเปิดงาน

09.35-10.35 บรรยายวิชาการเรื่อง “เทคโนโลยีการรักษาโรคปวดหลังแบบไม่ต้องผ่าตัด”โดย นพ.กิตติ ศิลปวิศวนนท์ แพทย์ศัลยกรรมกระดูกและข้อ ศูนย์โรคปวดหลัง โรงพยาบาลลานนา

10.35-11.00 พักรับประทานอาหารว่าง

11.00-11.50 กิจกรรมฝึกปฎิบัติ เรื่อง “วิธีการจัดการ...อาการปวดหลัง”โดย คุณศิริรัตน์ กนกพารา หัวหน้าแผนกกายภาพบำบัด

11.50-12.00 พิธิปิด จบงานประชุม

ติดต่อสอบถามและสำรองที่นั่งได้ที่ แผนกสื่อสารการตลาด โทร.053 999777

ติดต่อ:

Marketing Communication Department ,

Lanna Hospital,Chiang Mai Thailand

Tel.053-999755 Fax.053-999797

www.lanna-hospital.com

www.facebook.com/lannahospital

ข่าวประชาสัมพันธ์ล่าสุด

๑๗:๒๑ 60 ปีแห่งความมุ่งมั่น! คาโอ คว้ารางวัลอุตสาหกรรมดีเด่น 2 ประเภทในปี 2567 ชูความสำเร็จด้านสิ่งแวดล้อมและความรับผิดชอบต่อสังคม
๑๗:๒๓ AVATR ก้าวสู่ความสำเร็จครั้งยิ่งใหญ่! ระดมทุนในรอบ Series C ได้มากกว่า 11,000 ล้านหยวน พร้อมก้าวสู่ความเป็นผู้นำในตลาดรถยนต์ไฟฟ้าหรูหราแห่งอนาคต
๑๗:๐๖ Zoom เปิด 10 เทรนด์ ใช้ AI ในการทำงานปี 2568
๑๗:๑๐ เปิดมุมมองอาชีพที่หลากหลายในอุตสาหกรรมกาแฟไทย เจาะลึกบทบาทและแนวทางยกระดับสู่การเติบโตอย่างยั่งยืน
๑๗:๑๔ อนาคตแห่งการเดินทาง: 5 คนขับ AI จากแอปเรียกรถ Maxim
๑๗:๕๕ Well-Being House บ้านชั้นเดียวเอาใจคนวัยเกษียณ
๑๗:๑๖ กทม. แจงเปิดกว้างการแข่งขันโครงการเช่าคอมพิวเตอร์พกพาสำหรับนักเรียน
๑๖:๓๗ รายงาน Ericsson Mobility Report ฉบับล่าสุด เผยผู้เริ่มให้บริการ 5G กลุ่มแรกกำลังมุ่งสู่โมเดลธุรกิจที่เน้นประสิทธิภาพ
๑๗:๒๕ เมดีซ กรุ๊ป ร่วมสมทบทุนสนับสนุนมูลนิธิโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช ช่วยผู้ป่วยในชนบท ถิ่นทุรกันดารที่ห่างไกล
๑๖:๔๔ CNN จับตา นวัตกรรมล่าสุดจากนักวิจัยไทย พลิกโฉมการตรวจคัดกรองความเครียดด้วย เหงื่อ