โครงการ “กำลังใจเพื่อชีวิตอิสระ” ของ “ผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้อง” ปี 2 พาผู้ป่วยจิตอาสาโรคไตวายเรื้อรังตะลุยเขาใหญ่

จันทร์ ๑๗ กันยายน ๒๐๑๒ ๑๓:๑๕
โครงการ “กำลังใจเพื่อชีวิตอิสระ” ของ “ผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้อง” โดย บริษัท แบ็กซ์เตอร์ เฮลธ์แคร์ (ประเทศไทย) จำกัด จัดกิจกรรมท่องเที่ยวเชิงสันทนาการเพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้อง เพื่อแสดงให้เห็นว่าผู้ป่วยโรคไตวายสามารถที่จะดำเนินกิจกรรมต่างๆ และเดินทางได้เหมือนคนทั่วไป ภายใต้แนวคิด “กายป่วย ใจไม่ป่วย จิตอาสาเพื่อผู้ป่วยไตวายเรื้อรัง” พร้อมร่วมแชร์ประสบการณ์เกี่ยวกับโรคไต วิธีการดูแลตนเอง และการบำบัดทดแทนไต รวมถึงการแก้ปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นในการดำเนินชีวิตประจำวันในการต่อสู้และอยู่กับโรคไตอย่างมีความสุข เพื่อเป็นวิทยาทานและสร้างขวัญกำลังใจให้กับผู้ป่วยโรคไต ให้พร้อมต่อการดำเนินชีวิต และการประกอบอาชีพที่เหมาะกับผู้ป่วยโรคไตวาย ในเวทีเสวนาและร่วมระดมสมอง “คน ซี เอ พี ดี ไม่มีน้ำยาจริงหรือ” โดยมี พลตรีหญิง อุษณา ลุวีระ, พญ.กรรณิการ์ ตันประเสริฐ ผู้อำนวยการโรงเรียนพระดาบส, ผศ.ดร. ชนิดา ปโชติการ นายกสมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทย และ อาจารย์ สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล ร่วมให้ความรู้ ระหว่างวันที่ 22-23 กันยายน 2555 ณ เดอะเปียโน รีสอร์ท เขาใหญ่ จ.นครราชสีมา

ข่าวประชาสัมพันธ์ล่าสุด

๑๗:๒๑ 60 ปีแห่งความมุ่งมั่น! คาโอ คว้ารางวัลอุตสาหกรรมดีเด่น 2 ประเภทในปี 2567 ชูความสำเร็จด้านสิ่งแวดล้อมและความรับผิดชอบต่อสังคม
๑๗:๒๓ AVATR ก้าวสู่ความสำเร็จครั้งยิ่งใหญ่! ระดมทุนในรอบ Series C ได้มากกว่า 11,000 ล้านหยวน พร้อมก้าวสู่ความเป็นผู้นำในตลาดรถยนต์ไฟฟ้าหรูหราแห่งอนาคต
๑๗:๐๖ Zoom เปิด 10 เทรนด์ ใช้ AI ในการทำงานปี 2568
๑๗:๑๐ เปิดมุมมองอาชีพที่หลากหลายในอุตสาหกรรมกาแฟไทย เจาะลึกบทบาทและแนวทางยกระดับสู่การเติบโตอย่างยั่งยืน
๑๗:๑๔ อนาคตแห่งการเดินทาง: 5 คนขับ AI จากแอปเรียกรถ Maxim
๑๗:๕๕ Well-Being House บ้านชั้นเดียวเอาใจคนวัยเกษียณ
๑๗:๑๖ กทม. แจงเปิดกว้างการแข่งขันโครงการเช่าคอมพิวเตอร์พกพาสำหรับนักเรียน
๑๖:๓๗ รายงาน Ericsson Mobility Report ฉบับล่าสุด เผยผู้เริ่มให้บริการ 5G กลุ่มแรกกำลังมุ่งสู่โมเดลธุรกิจที่เน้นประสิทธิภาพ
๑๗:๒๕ เมดีซ กรุ๊ป ร่วมสมทบทุนสนับสนุนมูลนิธิโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช ช่วยผู้ป่วยในชนบท ถิ่นทุรกันดารที่ห่างไกล
๑๖:๔๔ CNN จับตา นวัตกรรมล่าสุดจากนักวิจัยไทย พลิกโฉมการตรวจคัดกรองความเครียดด้วย เหงื่อ