เอไซ (ประเทศไทย) ขอเชิญสื่อมวลชนร่วมฟังสัมมนาปัญหาสุขภาพ เรื่อง "โรคกระเพาะอาหารเนื่องจากเกิดกรดไหลย้อนกลับมาที่หลอดอาหาร"

ศุกร์ ๒๑ มกราคม ๒๐๐๕ ๑๖:๑๒
กรุงเทพฯ--21 ม.ค.--โฟว์ดี คอมมิวนิเคชั่น
บริษัท เอไซ (ประเทศไทย) มาร์เก็ตติ้ง จำกัด “ห่วงใย ใส่ใจ สุขภาพของประชาชน”ขอเชิญสื่อมวลชนเข้าร่วมฟังสัมมนาปัญหาสุขภาพ เรื่อง “โรคกระเพาะอาหารเนื่องจากเกิดกรดไหลย้อนกลับมาที่หลอดอาหาร” ในวันศุกร์ที่ 11 กุมภาพันธ์ 2548
โดย ผ.ศ. น.พ. สมชาย ลีลากุศลวงศ์ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญสาขาโรคระบบทางเดินอาหาร ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทย์ศาสตร์ ศิริราชพยาบาล โรคกระเพาะอาหารเนื่องจากเกิดกรดไหลย้อนกลับมาที่หลอดอาหารอาจนำมาซึ่งสาเหตุดังต่อไปนี้ เสียงแหบเรื้อรัง เสมหะมาก กระแอมไอเป็นประจำ รู้สึกมีก้อนในคอ และอาการแสบร้อนท้อง
กำหนดการงานสัมมนา
13.30-14.15 น. ฟังคำบรรยายจากแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ
14.15-15.00 น. ถาม-ตอบอย่างใกล้ชิดกับแพทย์ผู้บรรยาย
15.00-15.30 น. รับประทานของว่าง
ณ ห้องประชุมบริษัท เอไซ (ประเทศไทย) มาร์เก็ตติ้ง จำกัด
ชั้น 6 อาคารดีทแฮล์ม ทาวเวอร์ A ถนนวิทยุ (ตามแผนที่แนบ)
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่
วิภาวริศ เกตุปมา หรือ กรรณิกา สายพันธุ์, จันทิมา กิติภัทรภูมิกุล
บริษัท โฟว์ดี คอมมิวนิเคชั่น จำกัด
0-2951-9431, 0-1890-3568, 0-6329- 3823, 0-9665-7381--จบ--

ข่าวประชาสัมพันธ์ล่าสุด

๑๗:๒๑ 60 ปีแห่งความมุ่งมั่น! คาโอ คว้ารางวัลอุตสาหกรรมดีเด่น 2 ประเภทในปี 2567 ชูความสำเร็จด้านสิ่งแวดล้อมและความรับผิดชอบต่อสังคม
๑๗:๒๓ AVATR ก้าวสู่ความสำเร็จครั้งยิ่งใหญ่! ระดมทุนในรอบ Series C ได้มากกว่า 11,000 ล้านหยวน พร้อมก้าวสู่ความเป็นผู้นำในตลาดรถยนต์ไฟฟ้าหรูหราแห่งอนาคต
๑๗:๐๖ Zoom เปิด 10 เทรนด์ ใช้ AI ในการทำงานปี 2568
๑๗:๑๐ เปิดมุมมองอาชีพที่หลากหลายในอุตสาหกรรมกาแฟไทย เจาะลึกบทบาทและแนวทางยกระดับสู่การเติบโตอย่างยั่งยืน
๑๗:๑๔ อนาคตแห่งการเดินทาง: 5 คนขับ AI จากแอปเรียกรถ Maxim
๑๗:๕๕ Well-Being House บ้านชั้นเดียวเอาใจคนวัยเกษียณ
๑๗:๑๖ กทม. แจงเปิดกว้างการแข่งขันโครงการเช่าคอมพิวเตอร์พกพาสำหรับนักเรียน
๑๖:๓๗ รายงาน Ericsson Mobility Report ฉบับล่าสุด เผยผู้เริ่มให้บริการ 5G กลุ่มแรกกำลังมุ่งสู่โมเดลธุรกิจที่เน้นประสิทธิภาพ
๑๗:๒๕ เมดีซ กรุ๊ป ร่วมสมทบทุนสนับสนุนมูลนิธิโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช ช่วยผู้ป่วยในชนบท ถิ่นทุรกันดารที่ห่างไกล
๑๖:๔๔ CNN จับตา นวัตกรรมล่าสุดจากนักวิจัยไทย พลิกโฉมการตรวจคัดกรองความเครียดด้วย เหงื่อ