โครงการดังกล่าว มีวัตถุประสงค์เพื่อขยายขนาดการผลิตเอนไซม์เคราติเนสจากระดับห้องปฏิบัติการ สู่ระดับโรงงานต้นแบบ โดยเอนไซม์เคราติเนสที่ผลิตได้จะถูกนำมาใช้ย่อยขนไก่ที่เหลือทิ้งจากกระบวนการแปรรูปในโรงงานให้เป็นขนไก่ป่นสำหรับใช้ในการผลิตอาหารสัตว์ เป็นการสร้างมูลค่าเพิ่มและลดปัญหาการกำจัดของเสียจากภาคอุตสาหกรรม รวมทั้งเพื่อการขยายขนาดการผลิตสารชีวภาพอื่นๆ จากงานวิจัยที่จำเป็นต้องใช้เทคโนโลยีการหมัก
- ๖ พ.ย. บริษัท N15 Technology จำกัด ร่วมกับสถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดบรรยายเสริมสร้างศักยภาพเพื่อการจัดการขยะอย่างยั่งยืน
- ๖ พ.ย. ศูนย์หนังสือจุฬาฯ ชวนสัมมนาออนไลน์ ครูผู้สอนภาษาอังกฤษ
- ๖ พ.ย. NIA ร่วมกับ ม.เกษตรศาสตร์ เปิดตัวเนื้อโคคุณภาพสูง "Lam Takhong Black Cow" ธุรกิจที่ 3 ภายใต้โครงการนิลมังกร 10X ดันแบรนด์เนื้อโลโคลสู่โกลบอล