ภาพข่าว: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี และมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รับรางวัลผลงานวิจัยเด่น สกว. 2557

พุธ ๒๗ พฤษภาคม ๒๐๑๕ ๑๒:๐๘
ศ.ดร.ณรงค์ฤทธิ์ สมบัติสมภพ (กลาง) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี และ วนิดา วารีเศวตสุวรรณ (ที่ ๒ จากขวา) ตัวแทนจากสำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ร่วมรับรางวัลผลงานวิจัยเด่น ด้านนโยบาย ประจำปี ๒๕๕๗ จากสำนักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัย (สกว.) จากผลงานวิจัยเรื่อง "การวิจัยและพัฒนาฐานข้อมูลวารสาร วิชาการในประเทศและยกระดับวารสารไทยเข้าสู่มาตรฐานสากล" ซึ่งทั้งสองหน่วยงานโดยได้ร่วมกันวิจัยและพัฒนาฐานข้อมูลวารสารวิชาการในประเทศสู่มาตรฐานสากล เพื่อกระตุ้นให้บรรณาธิการวารสารไทยตื่นตัวในการพัฒนาระบบบริหารจัดการวารสารคุณภาพ ในนามของศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI) โดยมี ดร.อภิชิต เทอดโยธิน (ที่ ๓ จากซ้าย) คณบดีคณะพลังงานสิ่งแวดล้อมและวัสดุ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี และทีมนักวิจัยร่วมแสดงความยินดี ซึ่งพิธีมอบรางวัลดังกล่าว จัดขึ้น ณ ห้องคริสตัล เอ-บี โรงแรม พลาซ่า แอทธินี เมื่อเร็วๆ นี้

บริษัท ดีซี คอนซัลแทนส์ แอนด์ มาร์เก็ตติ้ง คอมมูนิเคชั่นส์ จำกัด

คุณรัชฎา ปสันตา โทร. 0 2610 2352

คุณวราภรณ์ อุดมไพศาล โทร. 0 2610 2372

คุณมณสิณีย์ ตั้งวงศ์ตระกูล โทร. 02 610 2392

ข่าวประชาสัมพันธ์ล่าสุด

๑๗:๒๑ 60 ปีแห่งความมุ่งมั่น! คาโอ คว้ารางวัลอุตสาหกรรมดีเด่น 2 ประเภทในปี 2567 ชูความสำเร็จด้านสิ่งแวดล้อมและความรับผิดชอบต่อสังคม
๑๗:๒๓ AVATR ก้าวสู่ความสำเร็จครั้งยิ่งใหญ่! ระดมทุนในรอบ Series C ได้มากกว่า 11,000 ล้านหยวน พร้อมก้าวสู่ความเป็นผู้นำในตลาดรถยนต์ไฟฟ้าหรูหราแห่งอนาคต
๑๗:๐๖ Zoom เปิด 10 เทรนด์ ใช้ AI ในการทำงานปี 2568
๑๗:๑๐ เปิดมุมมองอาชีพที่หลากหลายในอุตสาหกรรมกาแฟไทย เจาะลึกบทบาทและแนวทางยกระดับสู่การเติบโตอย่างยั่งยืน
๑๗:๑๔ อนาคตแห่งการเดินทาง: 5 คนขับ AI จากแอปเรียกรถ Maxim
๑๗:๕๕ Well-Being House บ้านชั้นเดียวเอาใจคนวัยเกษียณ
๑๗:๑๖ กทม. แจงเปิดกว้างการแข่งขันโครงการเช่าคอมพิวเตอร์พกพาสำหรับนักเรียน
๑๖:๓๗ รายงาน Ericsson Mobility Report ฉบับล่าสุด เผยผู้เริ่มให้บริการ 5G กลุ่มแรกกำลังมุ่งสู่โมเดลธุรกิจที่เน้นประสิทธิภาพ
๑๗:๒๕ เมดีซ กรุ๊ป ร่วมสมทบทุนสนับสนุนมูลนิธิโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช ช่วยผู้ป่วยในชนบท ถิ่นทุรกันดารที่ห่างไกล
๑๖:๔๔ CNN จับตา นวัตกรรมล่าสุดจากนักวิจัยไทย พลิกโฉมการตรวจคัดกรองความเครียดด้วย เหงื่อ