ประกวดการเขียน โครงการรากไทย ครั้งที่ ๑ "วรรณกรรม ๔ ภาค"

ศุกร์ ๐๓ กรกฎาคม ๒๐๑๕ ๑๐:๔๒
การประกวดงานเขียน วรรณกรรม ๔ ภาค "โครงการรากไทย ครั้งที่ ๑"

เนื้อหาสาระ

- นำเสนอเสนอแง่มุมในท้องถิ่นตัวเอง ได้แก่ ภูมิปัญญาชาวบ้าน, ประวัติ, เรื่องเล่าหรือเกี่ยวกับ ชีวิต ความคิด และวัฒนธรรมของชุมชน อย่างใดอย่างหนึ่ง หรือเป็นภาพรวม

คุณสมบัติงานเขียน

๑. ให้เขียนเป็นรูปแบบนวนิยายขนาดสั้น ขนาดความยาว ไม่ต่ำกว่า ๔๐ หน้ากระดาษ A4 ตัวอักษร๑๖ พ้อยท์

๒. ให้เขียนเป็นภาษาไทย

๓. สร้างสรรค์ขึ้นเอง ไม่แปล หรือแปลงจากงานเขียนของผู้อื่น กรณีที่มีการลอกเลียนผลงานของผู้อื่น

๔. เป็นงานที่เขียนขึ้นใหม่ ไม่เคยตีพิมพ์หรือรวมเล่มมาก่อน และระหว่างที่ส่งเข้าประกวดห้ามส่งให้นิตยสาร หนังสือพิมพ์หรือสำนักพิมพ์เพื่อการตีพิมพ์

ระยะเวลาการส่งผลงาน และประกาศผล

วันนี้ – ๓๐ กันยายน ๒๕๕๘

ลิขสิทธิ์และการเผยแพร่ผลงาน

ผลงานที่ได้รับรางวัล โครงการรากไทย จัดพิมพ์เผยแพร่ครั้งแรกภายในกำหนดเวลา ๕ ปี หลังจากนั้นลิขสิทธิ์วรรณกรรมจึงตกเป็นของผู้เขียน

ส่งผลงานได้ทางช่องทาง

E-mail: [email protected]

บริษัท โนวเลจ โพรไวเดอร์ จำกัด

68/41 ม.14 ลาดพร้าววังหิน 62 แขวงลาดพร้าว เขตลาดพร้าว กรุงเทพฯ 10230

ติดต่อสอบถาม

โทร.02 570 8831 / มือถือ 081 975 2231

Facebook: raakthaiproject

ข่าวประชาสัมพันธ์ล่าสุด

๑๗:๒๑ 60 ปีแห่งความมุ่งมั่น! คาโอ คว้ารางวัลอุตสาหกรรมดีเด่น 2 ประเภทในปี 2567 ชูความสำเร็จด้านสิ่งแวดล้อมและความรับผิดชอบต่อสังคม
๑๗:๒๓ AVATR ก้าวสู่ความสำเร็จครั้งยิ่งใหญ่! ระดมทุนในรอบ Series C ได้มากกว่า 11,000 ล้านหยวน พร้อมก้าวสู่ความเป็นผู้นำในตลาดรถยนต์ไฟฟ้าหรูหราแห่งอนาคต
๑๗:๐๖ Zoom เปิด 10 เทรนด์ ใช้ AI ในการทำงานปี 2568
๑๗:๑๐ เปิดมุมมองอาชีพที่หลากหลายในอุตสาหกรรมกาแฟไทย เจาะลึกบทบาทและแนวทางยกระดับสู่การเติบโตอย่างยั่งยืน
๑๗:๑๔ อนาคตแห่งการเดินทาง: 5 คนขับ AI จากแอปเรียกรถ Maxim
๑๗:๕๕ Well-Being House บ้านชั้นเดียวเอาใจคนวัยเกษียณ
๑๗:๑๖ กทม. แจงเปิดกว้างการแข่งขันโครงการเช่าคอมพิวเตอร์พกพาสำหรับนักเรียน
๑๖:๓๗ รายงาน Ericsson Mobility Report ฉบับล่าสุด เผยผู้เริ่มให้บริการ 5G กลุ่มแรกกำลังมุ่งสู่โมเดลธุรกิจที่เน้นประสิทธิภาพ
๑๗:๒๕ เมดีซ กรุ๊ป ร่วมสมทบทุนสนับสนุนมูลนิธิโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช ช่วยผู้ป่วยในชนบท ถิ่นทุรกันดารที่ห่างไกล
๑๖:๔๔ CNN จับตา นวัตกรรมล่าสุดจากนักวิจัยไทย พลิกโฉมการตรวจคัดกรองความเครียดด้วย เหงื่อ