บลจ.ภัทร เสนอทางเลือกการลงทุน “PHATRA SG-AA” ตอบโจทย์ทุกสภาวะตลาด

พุธ ๒๒ กรกฎาคม ๒๐๑๕ ๑๔:๓๐
นายยุทธพล ลาภละมูล กรรมการผู้จัดการ บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน ภัทร จำกัด (บลจ. ภัทร) ส่งกองทุนเปิดภัทร ตราทิจิคแอสแซ็ทอโลเคชั่น (PHATRA SG-AA) กองทุนที่ตอบโจทย์ทุกสภาวะตลาด เน้นจุดเด่นลงทุนพอร์ตเดียวได้กระจายการลงทุนในทรัพย์สินหลากหลายประเภท บริหารจัดการภายใต้การจัดสรรเงินลงทุนโดยทีมวิเคราะห์การลงทุนจาก บล. ภัทร และการคัดเลือกทรัพย์สินเพื่อการลงทุนโดยทีมการลงทุนของ บลจ. ภัทร ลงทุนขั้นต่ำเพียง 10,000 บาท ปัจจุบันกองทุนมีมูลค่าทรัพย์สินสุทธิอยู่ที่ 1,852 ล้านบาท ณ วันที่ 16 กรกฎาคม 2558 และมีผลการดำเนินงานย้อนหลังเฉลี่ย 3 เดือน 6 เดือน และ 1 ปี อยู่ที่ 1.91% 4.48% และ 4.32% ตามลำดับ (สูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานย้อนหลัง* 3 เดือน 6 เดือนและ 1 ปี ที่ 1.49% 1.73% และ 4.31% ข้อมูล ณ วันที่ 26 มิถุนายน 2558)

สนใจสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม และติดต่อขอรับหนังสือชี้ชวนได้ทุกวันทำการที่ บลจ. ภัทร โทร 0-2305-9800 ธนาคารเกียรตินาคิน ทุกสาขา ทั่วประเทศ หรือผู้สนับสนุนการขายหรือรับซื้อหน่วยลงทุนอื่นที่ได้รับการแต่งตั้ง

การลงทุนมีความเสี่ยง ผู้ลงทุนควรศึกษาข้อมูล นโยบายการลงทุน ความเสี่ยงของกองทุน และผลการดำเนินงานของกองทุนก่อนการตัดสินใจลงทุน

ข่าวประชาสัมพันธ์ล่าสุด

๑๗:๒๑ 60 ปีแห่งความมุ่งมั่น! คาโอ คว้ารางวัลอุตสาหกรรมดีเด่น 2 ประเภทในปี 2567 ชูความสำเร็จด้านสิ่งแวดล้อมและความรับผิดชอบต่อสังคม
๑๗:๒๓ AVATR ก้าวสู่ความสำเร็จครั้งยิ่งใหญ่! ระดมทุนในรอบ Series C ได้มากกว่า 11,000 ล้านหยวน พร้อมก้าวสู่ความเป็นผู้นำในตลาดรถยนต์ไฟฟ้าหรูหราแห่งอนาคต
๑๗:๐๖ Zoom เปิด 10 เทรนด์ ใช้ AI ในการทำงานปี 2568
๑๗:๑๐ เปิดมุมมองอาชีพที่หลากหลายในอุตสาหกรรมกาแฟไทย เจาะลึกบทบาทและแนวทางยกระดับสู่การเติบโตอย่างยั่งยืน
๑๗:๑๔ อนาคตแห่งการเดินทาง: 5 คนขับ AI จากแอปเรียกรถ Maxim
๑๗:๕๕ Well-Being House บ้านชั้นเดียวเอาใจคนวัยเกษียณ
๑๗:๑๖ กทม. แจงเปิดกว้างการแข่งขันโครงการเช่าคอมพิวเตอร์พกพาสำหรับนักเรียน
๑๖:๓๗ รายงาน Ericsson Mobility Report ฉบับล่าสุด เผยผู้เริ่มให้บริการ 5G กลุ่มแรกกำลังมุ่งสู่โมเดลธุรกิจที่เน้นประสิทธิภาพ
๑๗:๒๕ เมดีซ กรุ๊ป ร่วมสมทบทุนสนับสนุนมูลนิธิโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช ช่วยผู้ป่วยในชนบท ถิ่นทุรกันดารที่ห่างไกล
๑๖:๔๔ CNN จับตา นวัตกรรมล่าสุดจากนักวิจัยไทย พลิกโฉมการตรวจคัดกรองความเครียดด้วย เหงื่อ