นายกฤษฎาฯ สรุปว่า "การขาดดุลงบประมาณในช่วง 5 เดือนแรกของปีงบประมาณ แสดงถึงความพยายามของภาครัฐในการเร่งเบิกจ่ายงบประมาณ โดยเฉพาะการเบิกจ่ายจากมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของรัฐบาลในช่วงต้นปีงบประมาณเพื่อสนับสนุนและขับเคลื่อนการขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างไรก็ดีภายใต้การผลักดันระบบ National e-Payment และการจัดทำบัญชีเดียวของผู้ประกอบการ SMEs ของกระทรวงการคลังจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดเก็บรายได้ของรัฐบาล ซึ่งจะเป็นผลดีต่อฐานะการคลังของประเทศในระยะยาว"
หน่วย: ล้านบาท
5 เดือนแรก เปรียบเทียบ
ปีงบประมาณ 2559 ปีงบประมาณ 2558 จำนวน ร้อยละ
1. รายได้ 882,435 801,828 80,607 10.1
2. รายจ่าย 1,311,425 1,210,266 101,159 8.4
3. ดุลเงินงบประมาณ (428,990) (408,438) (20,552) (5.0)
4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (44,118) (3,435) (40,683) (1,184.3)
5. ดุลเงินสดก่อนกู้ (๓+๔) (473,108) (411,873) (61,235) (14.9)
6. เงินกู้เพื่อชดเชยการขาดดุล 313,023 99,259 213,764 215.4
7. ดุลเงินสดหลังกู้ (๕+๖) (160,085) (312,614) 152,529 48.8
8. เงินคงคลังปลายงวด 266,097 183,133 82,964 45.3
ที่มา: กรมบัญชีกลาง และสำนักงานเศรษฐกิจการคลัง
รายละเอียดเพิ่มเติม ดูได้จาก www.fpo.go.thสำนักนโยบายการคลัง สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง
โทร 0 2273 9020 ต่อ 3586