ทั้งนี้เทคโนโลยีการสื่อสารแบบ LTE-M (Cat-M1) ถูกออกแบบมาให้เหมาะสมกับการใช้งานกับอุปกรณ์ IoT ที่มีการส่งข้อมูลอย่างต่อเนื่องในขณะเคลื่อนที่ และมีความเร็วที่สูงกว่าเทคโนโลยี NB-IoT ในขณะที่ยังคงประหยัดพลังงาน ไม่ต้องเปลี่ยนแบตเตอรีบ่อย จึงทำให้เหมาะสมกับแอพพลิเคชั่นติดตามตำแหน่ง Smart Transportation และ Asset Tracking รวมถึงแอพพลิเคชั่นรับส่งภาพ/วิดีโอที่มีความละเอียดไม่สูงนักได้เป็นอย่างดี สามารถครอบคลุมพื้นที่ให้บริการได้กว้าง (Low Power Wide Area, LPWA) และยังสามารถรองรับการเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ IoT ได้เป็นจำนวนมาก (Massive IoT) จึงเป็นหนึ่งในเทคโนโลยีเพื่อการก้าวไปสู่ 5G Massive IoT ในอนาคต
- ม.ค. ๒๕๖๘ ทรู ระดมทีมขายทั่วประเทศ รุก True Gigatex Fiber เปิดปฏิบัติการพิชิตสมรภูมิเน็ตบ้านทุกภูมิภาค ส่งตรงประสบการณ์ ระดับ Gigabit เต็มสปีดถึงบ้านลูกค้า
- ม.ค. ๒๕๖๘ ภาพข่าว: ทรู ตอกย้ำภาพผู้นำ IoT ประกาศความร่วมมือ หัวเว่ย สร้างศูนย์ปฏิบัติการและพัฒนาเทคโนโลยี IoT “True-Huawei IoT Open Lab” แห่งแรกในประเทศไทยและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
- ม.ค. ๒๕๖๘ ภาพข่าว: ทรูมูฟ เอช ผนึก อีริคสัน ประกาศความพร้อมเข้าสู่ยุค 5G พัฒนาและทดสอบระบบส่งสัญญาณ 5G ต้นแบบสำเร็จเป็นรายแรกในไทย พร้อมรองรับโลกการสื่อสารแห่งอนาคต