ภาพข่าว: TISA ร่วม IT SPU จัดเสวนาประชาชน “แนะรัฐหลีกเลี่ยงบังคับเก็บข้อมูลชีวมาตรประชาชน”

จันทร์ ๑๕ กรกฎาคม ๒๐๑๙ ๑๑:๔๗
สมาคมความมั่นคงปลอดภัยระบบสารสนเทศ และ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.ศรีปทุม จัดเสวนาประชาชน "การเก็บข้อมูลชีวมาตร ของหน่วยงานรัฐ กับการละเมิดสิทธิส่วนบุคคลและผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ"

สมาคมความมั่นคงปลอดภัยระบบสารสนเทศ (TISA) และคณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยศรีปทุม จัดการเสวนาประชาชน ในหัวข้อ "การเก็บข้อมูลชีวมาตรของหน่วยงานรัฐกับความเสี่ยงที่อาจมีการละเมิดสิทธิส่วนบุคคลและผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ โดยได้รับเกียรติจาก พล.อ.บรรเจิด เทียนทองดี ,พล.อ.เจิดวุธ คราประยูร ,พ.ต.อ.ญาณพล ยั่งยืน และ นพ.สุธี ทุวิรัตน์ กรรมการสมาคมความมั่นคงปลอดภัยระบบสารสนเทศ ร่วมเสวนา ณ ห้องพัชรกิติยาภา อาคารเฉลิมพระบารมี 50 ปี ซอยศูนย์วิจัย ถ.เพชรบุรีตัดใหม่ กรุงเทพมหานคร เมื่อเร็วๆนี้

ซึ่งบทสรุปของการเสวนาฯในครั้งนี้ ผู้ร่วมเสวนาเห็นตรงกันว่า ข้อมูลส่วนบุคคลหรือการใช้ข้อมูลชีวมาตรนั้นมีข้อดีและจำเป็น แต่ไม่เหมาะสมกับการใช้งานกับทุกส่วน เนื่องจากจะเป็นการลิดรอนสิทธิและตัวตน ความเป็นส่วนตัวและความเป็นบุคคลของประชาชนมากเกินไป และต้องมีมาตรการที่จัดเก็บและความปลอดภัยในการชัดเก็บที่ชัดเจนเพื่อการปกป้องสิทธิของประชาชน

ข่าวประชาสัมพันธ์ล่าสุด

๑๗:๒๑ 60 ปีแห่งความมุ่งมั่น! คาโอ คว้ารางวัลอุตสาหกรรมดีเด่น 2 ประเภทในปี 2567 ชูความสำเร็จด้านสิ่งแวดล้อมและความรับผิดชอบต่อสังคม
๑๗:๒๓ AVATR ก้าวสู่ความสำเร็จครั้งยิ่งใหญ่! ระดมทุนในรอบ Series C ได้มากกว่า 11,000 ล้านหยวน พร้อมก้าวสู่ความเป็นผู้นำในตลาดรถยนต์ไฟฟ้าหรูหราแห่งอนาคต
๑๗:๐๖ Zoom เปิด 10 เทรนด์ ใช้ AI ในการทำงานปี 2568
๑๗:๑๐ เปิดมุมมองอาชีพที่หลากหลายในอุตสาหกรรมกาแฟไทย เจาะลึกบทบาทและแนวทางยกระดับสู่การเติบโตอย่างยั่งยืน
๑๗:๑๔ อนาคตแห่งการเดินทาง: 5 คนขับ AI จากแอปเรียกรถ Maxim
๑๗:๕๕ Well-Being House บ้านชั้นเดียวเอาใจคนวัยเกษียณ
๑๗:๑๖ กทม. แจงเปิดกว้างการแข่งขันโครงการเช่าคอมพิวเตอร์พกพาสำหรับนักเรียน
๑๖:๓๗ รายงาน Ericsson Mobility Report ฉบับล่าสุด เผยผู้เริ่มให้บริการ 5G กลุ่มแรกกำลังมุ่งสู่โมเดลธุรกิจที่เน้นประสิทธิภาพ
๑๗:๒๕ เมดีซ กรุ๊ป ร่วมสมทบทุนสนับสนุนมูลนิธิโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช ช่วยผู้ป่วยในชนบท ถิ่นทุรกันดารที่ห่างไกล
๑๖:๔๔ CNN จับตา นวัตกรรมล่าสุดจากนักวิจัยไทย พลิกโฉมการตรวจคัดกรองความเครียดด้วย เหงื่อ