ขอขอบคุณ! "คุณนานา" เจ้าของบริษัท อิวา ไบโอเมทริก โซลูชั่น แอนด์ เมดดิเคิล โพคิดท์ จำกัดและบริษัทเดอะนาตาชา จำกัด มอบอาหารกลางวัน ศูนย์วัคซีน ม.ศรีปทุม

อังคาร ๒๗ กรกฎาคม ๒๐๒๑ ๑๐:๓๘
คุณเกดชนา วันทานี (นานา) เจ้าของ บริษัท อิวา ไบโอเมทริก โซลูชั่น แอนด์ เมดดิเคิล โพคิดท์ จำกัดและ บริษัท เดอะ นาตาชา จำกัด ส่งมอบอาหารกลางวัน จำนวน 80 กล่อง สนับสนุน บุคลากรทางการแพทย์และอาสาสมัคร ที่มาให้บริการฉีดวัคซีนป้องกันโควิด-19 แก่ประชาชน เพื่อขอเป็นกำลังใจให้ทุกท่าน โดยมี คุณภาคภูมิ อรรถกรศิริโพธิ์ ผู้อำนวยการศูนย์ฉีดวัคซีนโควิด19 มหาวิทยาลัยศรีปทุม ณ วิทยาลัยเทคโนโลยีไทยบริหารธุรกิจ เป็นผู้รับมอบ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ขอขอบพระคุณ ที่ร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการสนับสนุนให้ประชาชนทุกคนได้รับวัคซีน และอนุโมทนาบุญมา ณ โอกาสนี้

สำหรับผู้ที่มีความประสงค์จะร่วมบริจาคสิ่งของ เช่น อาหาร น้ำดื่ม ถุงมือยาง หน้ากากอนามัย เป็นต้นเพื่อสนับสนุน ทีมอาสาสมัครและบุคลากรทางการแพทย์ และบริการประชาชน ณ ศูนย์ฉีดวัคซีนโควิด19 มหาวิทยาลัยศรีปทุม ณ วิทยาลัยเทคโนโลยีไทยบริหารธุรกิจ ท่านสามารถติดต่อแจ้งความประสงค์การบริจาคได้ที่ ศูนย์น้ำใจ : คุณทัศนีย์ โทร.08 -16343903  คุณเสาวณีย์ / โทร. 08 5808 7137 หรือ อ.เปรมจิต โทร. 08 -17513990

ที่มา: มหาวิทยาลัยศรีปทุม

ข่าวประชาสัมพันธ์ล่าสุด

๑๗:๒๑ 60 ปีแห่งความมุ่งมั่น! คาโอ คว้ารางวัลอุตสาหกรรมดีเด่น 2 ประเภทในปี 2567 ชูความสำเร็จด้านสิ่งแวดล้อมและความรับผิดชอบต่อสังคม
๑๗:๒๓ AVATR ก้าวสู่ความสำเร็จครั้งยิ่งใหญ่! ระดมทุนในรอบ Series C ได้มากกว่า 11,000 ล้านหยวน พร้อมก้าวสู่ความเป็นผู้นำในตลาดรถยนต์ไฟฟ้าหรูหราแห่งอนาคต
๑๗:๐๖ Zoom เปิด 10 เทรนด์ ใช้ AI ในการทำงานปี 2568
๑๗:๑๐ เปิดมุมมองอาชีพที่หลากหลายในอุตสาหกรรมกาแฟไทย เจาะลึกบทบาทและแนวทางยกระดับสู่การเติบโตอย่างยั่งยืน
๑๗:๑๔ อนาคตแห่งการเดินทาง: 5 คนขับ AI จากแอปเรียกรถ Maxim
๑๗:๕๕ Well-Being House บ้านชั้นเดียวเอาใจคนวัยเกษียณ
๑๗:๑๖ กทม. แจงเปิดกว้างการแข่งขันโครงการเช่าคอมพิวเตอร์พกพาสำหรับนักเรียน
๑๖:๓๗ รายงาน Ericsson Mobility Report ฉบับล่าสุด เผยผู้เริ่มให้บริการ 5G กลุ่มแรกกำลังมุ่งสู่โมเดลธุรกิจที่เน้นประสิทธิภาพ
๑๗:๒๕ เมดีซ กรุ๊ป ร่วมสมทบทุนสนับสนุนมูลนิธิโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช ช่วยผู้ป่วยในชนบท ถิ่นทุรกันดารที่ห่างไกล
๑๖:๔๔ CNN จับตา นวัตกรรมล่าสุดจากนักวิจัยไทย พลิกโฉมการตรวจคัดกรองความเครียดด้วย เหงื่อ