โรงพยาบาลลานนา จัดการอบรมวิชาการ เรื่อง "การดูแลและรักษาโรคชัก.. ในเด็กและผู้ใหญ่"

พฤหัส ๐๙ พฤศจิกายน ๒๐๒๓ ๑๖:๒๗
โรงพยาบาลลานนา จัดการอบรมวิชาการ เรื่อง "การดูแลและรักษาโรคชัก.. ในเด็กและผู้ใหญ่" .วันที่ 7 พฤศจิกายน 2566 ณ ห้องประชุมใหญ่ โรงพยาบาลลานนา 3

พว.นฤมล วัฒนปฤดา ประธานองค์กรพยาบาล โรงพยาบาลลานนา จัดการอบรมวิชาการ เรื่อง "การดูแลและรักษาโรคชัก ในเด็กและผู้ใหญ่" วิทยากรโดย พญ.ชนม์นิกานต์ ภาวศุทธิ์ กุมารแพทย์ ผู้เชี่ยวชาญด้านระบบประสาทเด็ก ศูนย์กุมารเวชกรรม และ พญ.ภิรมยา ใจบุญ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านอายุรศาสตร์ และประสาทวิทยา ประจำศูนย์สวนหลอดเลือดสมอง โรงพยาบาลลานนา

อาการชัก อันตราย.. อาจทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนที่เป็นอันตรายหลายอย่าง เพื่อเป็นการเสริมสร้างความรู้ เพิ่มศักยภาพเจ้าหน้าที่พยาบาล เกี่ยวกับการประเมิน วินิจฉัย สังเกตอาการผู้ป่วยโรคชัก ทั้งเด็กและผู้ใหญ่ ที่มารักษาที่โรงพยาบาลลานนา รวมทั้งการดูแล และรักษาผู้ป่วยโรคชัก ให้แก่กลุ่มพยาบาลวิชาชีพแผนกต่างๆ เป็นแนวทางสำหรับการดูแลผู้มารับบริการ เมื่อเจอผู้ป่วยฉุกเฉิน ที่มีอาการชัก ซึ่งพยาบาลวิชาชีพมีความสำคัญมาก จะต้องประเมิน วินิจฉัย และปฐมพยาบาล ให้การรักษาเบื้องต้น เพื่อลดอาการชักที่รวดเร็ว หากล่าช้า อาจส่งผลเสียต่อการรักษา มีผลเสียต่อภาวะสมองต่อไปได้

ที่มา: โรงพยาบาลลานนา

ข่าวประชาสัมพันธ์ล่าสุด

๑๗:๒๑ 60 ปีแห่งความมุ่งมั่น! คาโอ คว้ารางวัลอุตสาหกรรมดีเด่น 2 ประเภทในปี 2567 ชูความสำเร็จด้านสิ่งแวดล้อมและความรับผิดชอบต่อสังคม
๑๗:๒๓ AVATR ก้าวสู่ความสำเร็จครั้งยิ่งใหญ่! ระดมทุนในรอบ Series C ได้มากกว่า 11,000 ล้านหยวน พร้อมก้าวสู่ความเป็นผู้นำในตลาดรถยนต์ไฟฟ้าหรูหราแห่งอนาคต
๑๗:๐๖ Zoom เปิด 10 เทรนด์ ใช้ AI ในการทำงานปี 2568
๑๗:๑๐ เปิดมุมมองอาชีพที่หลากหลายในอุตสาหกรรมกาแฟไทย เจาะลึกบทบาทและแนวทางยกระดับสู่การเติบโตอย่างยั่งยืน
๑๗:๑๔ อนาคตแห่งการเดินทาง: 5 คนขับ AI จากแอปเรียกรถ Maxim
๑๗:๕๕ Well-Being House บ้านชั้นเดียวเอาใจคนวัยเกษียณ
๑๗:๑๖ กทม. แจงเปิดกว้างการแข่งขันโครงการเช่าคอมพิวเตอร์พกพาสำหรับนักเรียน
๑๖:๓๗ รายงาน Ericsson Mobility Report ฉบับล่าสุด เผยผู้เริ่มให้บริการ 5G กลุ่มแรกกำลังมุ่งสู่โมเดลธุรกิจที่เน้นประสิทธิภาพ
๑๗:๒๕ เมดีซ กรุ๊ป ร่วมสมทบทุนสนับสนุนมูลนิธิโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช ช่วยผู้ป่วยในชนบท ถิ่นทุรกันดารที่ห่างไกล
๑๖:๔๔ CNN จับตา นวัตกรรมล่าสุดจากนักวิจัยไทย พลิกโฉมการตรวจคัดกรองความเครียดด้วย เหงื่อ