คณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ จัดสัมมนาการบรรยายพิเศษ เรื่อง การวิจัยเพื่อทำวิทยานิพนธ์ด้านสังคมศาสตร์

พุธ ๐๓ กันยายน ๒๐๐๓ ๑๑:๐๐
กรุงเทพฯ--3 ก.ย.--จุฬาฯ
การวิจัยเพื่อทำวิทยานิพนธ์ด้านสังคมศาสตร์ สำหรับปริญญาโทและเอก ประจำปี พ.ศ. 2546วันอังคารที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2546 เวลา 08.15 - 12.00 น.ณ ห้องประชุม ชั้น 2 อาคารสมาคมนิสิตเก่ารัฐศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ
เวลา 08.15 - 08.30 น. ลงทะเบียนรับเอกสาร
เวลา 08.30 - 09.30 น. บรรยายหัวข้อ "การกำหนดสภาพปัญหา"อาจารย์ ดร. วีระ สมบรูณ์ (อาจารย์ประจำภาควิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ)
เวลา 09.30 - 10.30 น. บรรยายหัวข้อ "การวิจัยเชิงปริมาณคุณภาพ และ กฎระเบียบของ บัณฑิตวิทยาลัย" รองศาสตราจารย์ ดร. อภิญญา รัตนมงคลมาศ(อาจารย์ประจำภาควิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ)
เวลา 10.30 - 10.45 น. พักอาหารว่าง
เวลา 10.45 - 11.45 น. บรรยายหัวข้อ "องค์ประกอบของงานวิจัยที่ดี"ศาสตราจารย์ ดร. อมรา พงศาพิชญ์ (คณบดีคณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ อาจารย์ประจำภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา)
เวลา 11.45 - 12.00 น. วิจารณ์และซักถามดำเนินรายการโดย รองศาสตราจารย์ ดร. กุลลดา เกษมบุญชู มี้ดติดต่อสอบถามเพิ่มเติม และ/หรือสำรองที่นั่งโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายใด ๆ ทั้งสิ้นโทรศัพท์หมายเลข 02-218-7263 และ 02-218-7270(รับจำนวนจำกัด 60 ท่านเท่านั้น)--จบ--
-สส-

ข่าวประชาสัมพันธ์ล่าสุด

๑๗:๒๑ 60 ปีแห่งความมุ่งมั่น! คาโอ คว้ารางวัลอุตสาหกรรมดีเด่น 2 ประเภทในปี 2567 ชูความสำเร็จด้านสิ่งแวดล้อมและความรับผิดชอบต่อสังคม
๑๗:๒๓ AVATR ก้าวสู่ความสำเร็จครั้งยิ่งใหญ่! ระดมทุนในรอบ Series C ได้มากกว่า 11,000 ล้านหยวน พร้อมก้าวสู่ความเป็นผู้นำในตลาดรถยนต์ไฟฟ้าหรูหราแห่งอนาคต
๑๗:๐๖ Zoom เปิด 10 เทรนด์ ใช้ AI ในการทำงานปี 2568
๑๗:๑๐ เปิดมุมมองอาชีพที่หลากหลายในอุตสาหกรรมกาแฟไทย เจาะลึกบทบาทและแนวทางยกระดับสู่การเติบโตอย่างยั่งยืน
๑๗:๑๔ อนาคตแห่งการเดินทาง: 5 คนขับ AI จากแอปเรียกรถ Maxim
๑๗:๕๕ Well-Being House บ้านชั้นเดียวเอาใจคนวัยเกษียณ
๑๗:๑๖ กทม. แจงเปิดกว้างการแข่งขันโครงการเช่าคอมพิวเตอร์พกพาสำหรับนักเรียน
๑๖:๓๗ รายงาน Ericsson Mobility Report ฉบับล่าสุด เผยผู้เริ่มให้บริการ 5G กลุ่มแรกกำลังมุ่งสู่โมเดลธุรกิจที่เน้นประสิทธิภาพ
๑๗:๒๕ เมดีซ กรุ๊ป ร่วมสมทบทุนสนับสนุนมูลนิธิโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช ช่วยผู้ป่วยในชนบท ถิ่นทุรกันดารที่ห่างไกล
๑๖:๔๔ CNN จับตา นวัตกรรมล่าสุดจากนักวิจัยไทย พลิกโฉมการตรวจคัดกรองความเครียดด้วย เหงื่อ